งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ

2 เด็กปฐมวัย แรกเกิด ถึง 3 ปี 3 ปี ถึง 6 ปี ครอบครัว ศูนย์พัฒนาเด็ก
โรงเรียนอนุบาล คลินิกเด็กสุขภาพดี ศิริกุล อิศรานุรักษ์

3 ทำไมต้องมีคลินิก เด็กสุขภาพดีคุณภาพ
ศิริกุล อิศรานุรักษ์

4 เด็กไทย IQ ลดลง เป้าหมายการพัฒนาเด็ก แข็งแรง เก่ง ดี มีความสุข
แข็งแรง เก่ง ดี มีความสุข สิทธิเด็ก อยู่รอด พัฒนา คุ้มครอง มีส่วนร่วม เด็กไทย IQ ลดลง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

5 ความยากจนและความด้อยพัฒนาข้ามรุ่น (ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก)
เด็ก 200 ล้านคนทั่วโลกขาดการพัฒนาด้านปัญญาและสังคมเต็มตามศักยภาพ ด้อยพัฒนาการ ล้มเหลวในการเรียน ยากจนเมื่อเป็นผู้ใหญ่ มีลูกตั้งแต่อายุน้อย ดูแลลูกไม่ถูกต้อง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

6 ข้อความจริง เมื่อแรกเกิด ทารกมีเชลล์สมองถึง ล้านล้านเซลล์
ในช่วง 10 ปีแรกของชีวิต สมองสามารถสร้าง จุดเชื่อมต่อถึง ล้านล้านล้านจุด เซลล์สมองแต่ละเซลล์สามารถเชื่อมต่อกับเซลล์สมองอื่นได้มากถึง เซลล์ sources: Bright future 2007, Family issues facts bulletin No. 4356 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

7 ข้อความจริง ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงที่สมองพัฒนาสูงสุด
การกระตุ้นความเชื่อมโยงของใยเซลล์สมองตั้งแต่เริ่มแรกของชีวิตเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กมีอิทธิพลมากมายต่อความเชื่อมโยงของเซลล์สมอง โดยเฉพาะปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่-ลูก sources: Bright future 2007, Family issues facts bulletin No. 4356 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

8 ข้อความจริง ปฏิสัมพันธ์ด้วยความรักและการดูแลเอาใจใส่จากพ่อแม่
กระตุ้นการเจริญของสมอง ทำให้การเชื่อมต่อของเซลล์สมองเกิดขึ้นอย่างมากมาย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่-ลูก มีผลต่อพัฒนาการรอบด้านและ ความสามารถในการควบคุมตนเองของเด็ก ภาวะเครียดทำให้สารคอติซอล หลั่งออกมามาก ซึ่งทำลาย เซลล์สมอง และลดการเชื่อมต่อของเซลล์สมอง sources: Bright future 2007, Family issues facts bulletin No. 4356 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

9 ข้อความจริง ประสบการณ์ที่เด็กได้รับตั้งแต่เล็ก เป็นรากฐานของชีวิตในช่วงต่อมาเพราะมีผลต่อการเรียนรู้ ความสำเร็จในการเรียน ความภาคภูมิใจในตนเอง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ การดำรงตนในสังคม และสุขภาพ ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ยืนยันว่า การลงทุนเกี่ยวกับ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า และให้ผลตอบแทนกลับคืนมาเป็นหลายเท่าของ ราคาที่ลงทุนไป (1: ) (Engle PL, Lancet 2011; 378: ) ศิริกุล อิศรานุรักษ์

10 หน้าต่างแห่งโอกาส(เวลาทอง)ในการพัฒนาสมอง
ในครรภ์ แรกเกิด 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี 7-10 ปี 11-23 ปี กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเล็ก การมองเห็น พัฒนาการด้านสังคม การควบคุมอารมณ์ ภาษา ภาษาที่สอง คณิตศาสตร์และความคิดเชิงเหตุผล ดนตรี

11 คลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ

12 อายุเด็ก คลินิกวัคซีน คลินิกเด็กสุขภาพดี
อายุเด็ก คลินิกวัคซีน คลินิกเด็กสุขภาพดี 1,2,4, ชั่งน.น วัดยาว/สูง ชั่งน้ำหนัก วัดยาว/สูง 6,9,12 วัดรอบหัว วัดรอบหัว 18 ด ให้วัคซีน ให้วัคซีน ตรวจฟัน 2,3 ฟัน ซักประวัติ 4 ปี ตรวจร่างกาย ประเมินพัฒนาการ การคัดกรองพิเศษตามวัย การให้คำแนะนำล่วงหน้า โรงเรียนพ่อแม่ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

13 หลักการของคลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ
เป้าหมาย คือ เด็ก แข็งแรง การตรวจร่างกายทั่วไป การได้รับวัคซีนป้องกันโรค การตรวจฟัน การตรวจ ความดัน ปัสสาวะ การประเมินภาวะโภชนาการ เก่ง การตรวจภาวะซีด การตรวจตา หู การประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ การคัดกรองออทิสติก ดี การคัดกรองความฉลาดทางอารมณ์ โรงเรียนพ่อแม่ มีความสุข การซักประวัติต่างๆ การให้คำแนะนำล่วงหน้า ศิริกุล อิศรานุรักษ์

14 Bright Future USA for Child Health Supervision
มีจุดมุ่งหมาย คือ การคัดกรองและเฝ้าระวังโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

15 ช่วงอายุเด็กที่นัด ครั้งที่ 7: 12 เดือน ครั้งที่ 1: 1 สัปดาห์
Bright Future USA ช่วงอายุเด็กที่นัด ครั้งที่ 1: 1 สัปดาห์ ครั้งที่ 2: 1 เดือน ครั้งที่ 3: 2 เดือน ครั้งที่ 4: 4 เดือน ครั้งที่ 5: 6 เดือน ครั้งที่ 6: 9 เดือน ครั้งที่ 7: 12 เดือน ครั้งที่ 8: 15 เดือน ครั้งที่ 9: 18 เดือน ครั้งที่ 10: 2 ปี ครั้งที่ 11: 2 ปีครึ่ง ครั้งที่ 12: 3 ปี ครั้งที่ 13: 4 ปี ศิริกุล อิศรานุรักษ์

16 กิจกรรมที่พึงทำของ Bright Future
การซักประวัติ เช่น ปัญหาการเลี้ยงดู พฤติกรรมเด็ก สุขภาพเด็ก การปรับตัวของสมาชิกครอบครัว สุขภาพของแม่ ฯลฯ 2) การสังเกตปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับเด็ก 3) การประเมินพัฒนาการ ที่พบเด็ก และคัดกรอง ด้วยเครื่องมือมาตรฐานเมื่ออายุ 9, 18 เดือน และ 2 ปีครึ่ง 4) การตรวจร่างกาย การถูกกระทำรุนแรง ทำทุกครั้ง ทำทุกครั้ง ทำทุกครั้ง ทำทุกครั้ง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

17 กิจกรรมที่พึงทำของ Bright Future
5) การประเมินภาวะโภชนาการ BMI เมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไป 6) การตรวจหรือคัดกรองพิเศษ เช่น Metabolic disease แรกเกิดถึง 2 เดือน ภาวะซีด อายุ 12 เดือน Autism อายุ 18 และ 24 เดือน ความดันโลหิต อายุ 3 และ 4 ปี สายตา อายุ 3 และ 4 ปี หู อายุ 4 ปี ตะกั่ว อายุ 1 และ 2 ปี ทำทุกครั้ง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

18 กิจกรรมที่พึงทำของ Bright Future
7) การให้วัคซีน 8) การให้คำแนะนำล่วงหน้า -การปรับตัวของครอบครัว บทบาทของพ่อและแม่ความรุนแรงในครอบครัว แหล่งสนับสนุนครอบครัว -สุขภาพกายจิตของพ่อแม่ -การปรับตัวของเด็ก พฤติกรรมของเด็ก พัฒนาการของเด็ก -การให้อาหาร -ความปลอดภัย -สุขภาพช่องปาก ทำทุกครั้ง ทำทุกครั้ง

19 การประเมินพัฒนาการตามช่วงอายุ
ด้านสังคม-อารมณ์ ด้านการสื่อสาร ด้านความสามารถ (สติปัญญา) ด้านร่างกาย ศิริกุล อิศรานุรักษ์

20 ลักษณะทั่วไป – ร่าเริง ซีด เขียว เหลือง ความพิการ
การตรวจร่างกาย ลักษณะทั่วไป – ร่าเริง ซีด เขียว เหลือง ความพิการ ศีรษะ – กระหม่อม ขนาดศีรษะ ตา – ขุ่นขาว red reflex ตาเหล่ หู – ใบหู ช่องหู จมูก – ช่องจมูก ปาก – ความพิการ ลิ้นติด ศิริกุล อิศรานุรักษ์

21 หัวใจ – murmur, femoral pulse ปอด – การหายใจ ท้อง – สะดือ ก้อน
การตรวจร่างกาย หัวใจ – murmur, femoral pulse ปอด – การหายใจ ท้อง – สะดือ ก้อน อวัยวะเพศและทวารหนัก กล้ามเนื้อและกรดูก – ความผิดปกติของกระดูกสันหลัง แขนขา ระบบประสาท – การเคลื่อนไหว muscle tone reflex ศิริกุล อิศรานุรักษ์

22 เข้าใจพื้นฐานอารมณ์ของเด็ก ไม่ต้องกลัวเด็กติดมือ
คำแนะนำ รักลูกให้กอด เข้าใจพื้นฐานอารมณ์ของเด็ก ไม่ต้องกลัวเด็กติดมือ หากรู้สึกเครียด ให้วางเด็กลงในที่ปลอดภัยและให้ คนอื่นดูแลแทน จนรู้สึกผ่อนคลาย สังเกตอาการซึมเศร้าของแม่ (baby blue) มีเวลาครอบครัว เล่นด้วยกัน อ่านหนังสือด้วยกัน เล่านิทาน ศิริกุล อิศรานุรักษ์

23 ล้างมือก่อนจับตัวเด็ก ไม่นำเด็กไปในที่แออัด
คำแนะนำ ล้างมือก่อนจับตัวเด็ก ไม่นำเด็กไปในที่แออัด ผื่นผ้าอ้อม ป้องกันด้วย good cleaning และ air drying ดีที่สุด แป้งฝุ่นไม่ควรใช้ ไม่จำเป็นต้องใช้สบู่ทุกครั้งที่อาบน้ำเด็ก เด็กกินนมพอ สังเกตได้จากฉี่ 6-8 ครั้งต่อวัน อึ 3-4 ครั้งต่อวัน และน้ำหนักขึ้น ฝึกการควบคุมการขับถ่ายเมื่อเด็กสามารถกลั้นปัสสาวะได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

24 เด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ไม่ควรดูTV หรือ VDO
คำแนะนำ ส่งเริมพัฒนาการด้านภาษาและปัญญาของเด็ก โดยการอ่านหนังสือกับเด็ก เล่านิทาน ร้องเพลง พูดคุย สม่ำเสมอ เด็กอายุน้อยกว่า 2 ปี ไม่ควรดูTV หรือ VDO เด็กอายุมากกว่า 2 ปี ดูไม่เกิน ชั่วโมงต่อวันสำหรับรายการส่งเสริมความรู้ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

25 ชมเมื่อมีพฤติกรรมดี มีความคิดริเริ่ม ทำงานสำเร็จ
คำแนะนำ ชมเมื่อมีพฤติกรรมดี มีความคิดริเริ่ม ทำงานสำเร็จ ไม่อนุญาตให้เด็ก กัด ตี ต่อย กับใคร ยุติการกระทำทันทีโดยแยกเด็กออกไปและอธิบายผลของการกระทำต่อผู้อื่น แนะนำให้ขอโทษ ไม่ลงโทษด้วยการตี ใช้วิธี time-out หรือ set limit กำหนดกติกาครอบครัว (ไม่มากเกินไป) ฝึกวินัยในตนเอง ศิริกุล อิศรานุรักษ์

26 โครงการ WCC คุณภาพ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

27 โครงการ WCC คุณภาพ โครงการนำร่อง 5 จังหวัด:
กาฬสินธุ์ มหาสารคาม นครศรีธรรมราช ลพบุรี เชียงราย จัดทำมาตรฐานคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ประสานความร่วมมือจังหวัดนำร่อง สัมมนา MCH Board จังหวัดนำร่อง สนับสนุนงบประมาณ คู่มือปฏิบัติงาน และวัสดุอุปกรณ์ ประชุมชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องแต่ละจังหวัด อบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะเพิ่มเติม ดำเนินงานคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ ติดตามประเมินผล สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปและขยายผล ศิริกุล อิศรานุรักษ์

28 กรอบแนวคิดการประเมินผล
โครงการ WCC คุณภาพ กระบวนการ ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข การมีส่วนร่วม ของอาสาสมัครสาธารณสุข ผลผลิต ความพึงพอใจ ของผู้ให้บริการ ความครบถ้วน ของบริการ ของผู้รับบริการ ผลลัพธ์ การได้รับนมแม่ เพียงอย่างเดียว ภาวะโภชนาการ เด็ก พัฒนาการ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

29 จำนวนเฉลี่ย อัตราส่วนผู้ให้ต่อ
จำนวนเฉลี่ย อัตราส่วนผู้ให้ต่อ ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการต่อครั้ง ผู้รับบริการ สอ (1-6) 35.0 (6-120) 1:12 รพช (4-8) 30.0 (20-45) 1:5 รพท/ศ (5-20) (30-100) :8 หากเกิน 1:10 เอาไม่อยู่ (การประเมินครั้งที่ 3) ศิริกุล อิศรานุรักษ์

30 ** การประเมิน ภาวะโภชนาการ ** การประเมินเส้น รอบศรีษะ การประเมิน
พัฒนาการ ** รับวัคซีน การซักประวัติ (นมแม่ วัคซีน) กิจกรรมบริการ ในคลินิก WCC คุณภาพ การจ่ายยาวิตามิน เสริมธาตุเหล็ก การตรวจร่างกาย (ช่องปาก ฟัน) การให้คำแนะนำ ล่วงหน้า การตรวจพิเศษ โรงเรียนพ่อแม่ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

31 6-12 เดือน ตรวจภาวะโลหิตจาง 12 และ 18 เดือน คัดกรอง Autism
การตรวจพิเศษ 6-12 เดือน ตรวจภาวะโลหิตจาง 12 และ 18 เดือน คัดกรอง Autism 3 ปี ประเมิน EQ 4 ปี วัดความดัน ตรวจสายตา ตรวจปัสสาวะ โรงเรียนพ่อแม่ เมื่ออายุ 6 เดือน, 1 ปี ศิริกุล อิศรานุรักษ์

32 1, 4 ปี พบแพทย์หรือพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ
1, 3 ปี พบทันตบุคลากร 1, 4 ปี พบแพทย์หรือพยาบาลผู้เชี่ยวชาญ 12 เดือน ฉีดวัคซีน JE เข็มที่ 1 13 เดือน ฉีดวัคซีน JE เข็มที่ 2 ศิริกุล อิศรานุรักษ์

33 ความครบถ้วนของบริการที่ได้รับ
ศิริกุล อิศรานุรักษ์

34 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ 5M2P
ผู้บริหาร (MASTER) บุคลากร/เจ้าหน้าที่ (MAN) การจัดการ (MANAGEMENT) นโยบาย (POLICY) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ 5M2P งบประมาณ (MONEY) เครื่องมือ อุปกรณ์ สถานที่ (MATERIAL) การมีส่วนร่วม (PARTICIPATION) ศิริกุล อิศรานุรักษ์

35 เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนเต็มที่
ความเพียงพอของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ใจของเจ้าหน้าที่ รักต่องานที่ทำ ชอบทำงานด้านเด็ก องค์ความรู้ของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ การทำงานเป็นทีม การมีที่ปรึกษาที่ดี การทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ บุคลากร/เจ้าหน้าที่ (MAN) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ ผู้บริหาร (MASTER) เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนเต็มที่ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

36 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ
การจัดการ (MANAGEMENT) มีระบบการบริหารจัดการที่ดี พัฒนาระบบบริการให้ได้คุณภาพดีขึ้น จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชุมปรึกษาหารือ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ งบประมาณ (MONEY) จัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆให้เพียงพอ ความพร้อมของสถานที่ เครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ สื่อต่างๆ พร้อม เครื่องมือ อุปกรณ์ สถานที่ (MATERIAL) ศิริกุล อิศรานุรักษ์

37 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ
นโยบาย (POLICY) นโยบายการทำงานที่ชัดเจนจากส่วนกลาง สื่อสารประชาสัมพันธ์งานคลินิก WCC คุณภาพผ่านสื่อ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการดำเนินงานคลินิก WCC คุณภาพ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายการทำงานในพื้นที่ ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายสถานบริการในพื้นที่ การมีส่วนร่วม (PARTICIPATION) ศิริกุล อิศรานุรักษ์

38 นวัตกรรม ระบบการนัดเด็กตามอายุ ระบบการให้บริการ ระบบการส่งต่อ
จัดโรงเรียนพ่อแม่ขณะรอดูอาการหลังรับวัคซีน สื่อสิ่งพิมพ์ทำความเข้าใจกิจกรรมบริการแต่ละช่วงอายุ พัฒนาแบบฟอร์มการให้ปริการตามช่วงอายุ การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ นิเทศ ประชุมแลกเปลี่ยน และเพิ่มพูนความรู้โดยกุมารแพทย์และสสจ. ภาคีเครือข่าย เช่น อสม. อาสานมแม่ ท้องถิ่น(กองทุนสุขภาพตำบล) ศูนย์พัฒนาเด็ก ศิริกุล อิศรานุรักษ์

39 เป็น ตัวอย่าง แข็งแรง เก่ง ดี มีความสุข อารมณ์ สังคม
ภาพสรุปรวบยอด การพัฒนาสมรรถนะเด็ก แหล่งสนับสนุน เข้าถึง พื้นฐานอารมณ์ การตอบสนอง แนวแนะผู้ดูแล สิ่งแวดล้อม ในครอบครัว พัฒนา เข้าใจ เล่น กิน รับรู้ เรียนรู้ กาย ริเริ่ม เรียนรู้ แสดงให้เห็น เป็น ตัวอย่าง ให้โอกาส แข็งแรง เก่ง ดี มีความสุข อารมณ์ สังคม ภาษา เล่า กอด สมรรถนะ วินัยในตนเอง ช่วยเหลือตนเอง ควบคุมอารมณ์ ไม่ก้าวร้าว สนใจฟัง เล่นด้วย ให้เวลา สอน ฝึก มีหลักการ ชยเชย ไม่เปรียบเทียบ ไม่ซ้ำเติม ไม่เลือกข้าง ไม่ใช้อารมณ์ ศิริกุล อิศรานุรักษ์

40 ศิริกุล อิศรานุรักษ์ ร้อยเรียง
หนูชื่อ “วันนี้” HIS NAME IS “TODAY” เราเสียใจกับความผิดพลาดหลายอย่าง แต่อย่าสร้างความผิดครั้งยิ่งใหญ่ นั่นก็คือ ละเลยเด็กวัยสดใส ทอดทิ้งให้เติบโตตามยถากรรม หลายสิ่งที่เราอยากนั้นรอได้ แต่ไม่ใช่ปล่อยเด็กน้อยให้ชอกช้ำ ทอดทิ้งให้เด็กๆ ตกระกำ ถูกกระทำเพราะผู้ใหญ่ไม่นำพา เพราะแต่ละนาทีของชีวิต ผลิต เลือด กระดูก และมังสา อวัยวะเร่งสร้างตลอดเวลา พัฒนา เติบโต เต็มตามวัย สำหรับเด็กน้อยๆอย่ารอช้า ชีวิตเขามีคุณค่าเพื่อเติบใหญ่ หนูไม่อาจรอ วันพรุ่งนี้ได้ เพราะชื่อหนูนั้นไซร้ คือ “วันนี้” ศิริกุล อิศรานุรักษ์ ร้อยเรียง 16 มิถุนายน 2552

41 We are guilty of many errors and many faults,
HIS NAME IS ‘TODAY’ We are guilty of many errors and many faults, but our worse crime is abandoning the children, neglecting the fountain of life. Many things we need can wait. The child cannot. Right now is the time his bones are being formed, his blood is being made, and his senses are being developed. To him we cannot answer ‘Tomorrow’, His name is ‘TODAY’. Gabriela Mistral 1945

42 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt คลินิกเด็กสุขภาพดีคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google