งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย นางสาวจงกลณี ช้างวิเศษ รหัสนักศึกษา

2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Missions)
มุ่งสู่การพัฒนาบุคลากร สร้างงานวิจัยและเครือข่ายด้านนิติวิทยาศาสตร์ พันธกิจ (Missions) สร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ เป็นศูนย์การวิจัยและพัฒนาบุคลากรด้านนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการหามาตรฐาน ในการตรวจพิสูจน์ต่าง ๆ ทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ กลยุทธ์ (Strategies) สร้างงานวิจัย สร้างเครือข่าย บริการวิชาแก่ชุมชน ผลิตบัณฑิต บริการวิชาแก่ชุมชน

3 กลยุทธ์การจัดการความรู้
ที่เหมาะสมตามวัฒนธรรมศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ โดยพิจารณาจาก ต้องสร้างคุณค่าให้เป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ ต้องสร้างความภาคภูมิใจให้กับศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ เช่น การสร้างสรรค์ งานวิจัย พัฒนา บุคลากร ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ร่วมถึงการสร้างเครือข่ายด้านนิติวิทยาศาสตร์ บุคคลากรของศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ ต้องให้บริการวิชาการที่เกิดประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์หลักPersonalized Model (People Based) ใช้แบ่งปันความรู้เป็นหลักระหว่างบุคคลในการดำเนินงานวิจัย พัฒนาบุคคล การให้บริการวิชาการแก่ชุมชน และการสร้างข่าย กลยุทธ์รองแบบ Codified Model (Technology Based) เพราะใช้ระบบสารสนเทศสนับสนุนการดำเนินงาน

4 การจัดการการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้
ในองค์กร การบริหาร - ผู้บริหาร, กลยุทธ์การจัดการความรู้, ทีมการจัดการความรู้ และหน้าที่ของทีม การจัดการการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ - จัดหา, จัดเก็บ, แชร์, ใช้

5 โครงการฯที่เป็นเจ้าภาพ โครงการที่ให้การสนับสนุนทั้งสิ้น
การบริหาร : ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์บริหารการปฏิบัติงานในลักษณะที่มุ่งเน้นคน (people : P) เป็นเกณฑ์ทางอ้อมที่ใช้วัดการปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการสื่อสารที่ดี สมาชิกพัฒนาตัวเอง เกิดทีมงานที่มีคุณภาพ ผู้บริหาร กำหนดนโยบาย KM ให้ชัดเจน แต่งตั้ง CKO กำหนดกลยุทธ์ตาม Vision, mission จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการทำ KM เข้าร่วมกิจกรรม (เป็นประธานหรือกล่าวชมเชย) ผู้ร่วมทีม วางแผน (แบ่งความรับผิดชอบให้ชัดเจน) สร้าง (บริหารการเปลี่ยนแปลง) ให้คำปรึกษา (ช่วยติดต่อประสานงาน) สำนักงานศูนย์ โครงการฯที่เป็นเจ้าภาพ โครงการที่ให้การสนับสนุนทั้งสิ้น เริ่มจากเล็ก>ใหญ่ จะได้ไม่กระทบทั้งศูนย์

6 การจัดการการเปลี่ยนแปลง
Team KM ต้องมีความเชื่อใจ มีการแบ่งปันความรู้ สำหรับใช้ในเปลี่ยนแปลง และมีเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น สมาชิกในศูนย์นิติฯ อาจมีพฤติกรรมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ การเปลี่ยนแปลงใช้ความรู้ที่เหมาะสมสำหรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อปลูกฝัง วัฒนธรรม การเรียนรู้และแบ่งปันความรู้ให้เกิดขึ้นในศูนย์นิติฯ ทำตาม ต่อต้าน(สร้างสรรค์) ใช้ประโยชน์

7 กระบวนการจัดการเปลี่ยนแปลง
1. การเตรียมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากตารางจะตอบคำถามได้ว่าเป้าหมายที่ต้องการคืองบประมาณสนับสนุนที่เพิ่มขึ้น จึงต้องสร้างผลงานที่มากกว่าแผนที่ตั้งไว้ 2. การสื่อสาร โดยการประชุมเพื่อแจ้งข้อมูลที่ถูกต้องให้ทุกคนเข้าใจเป้าหมาย ประโยชน์ ที่จะเกิด กับทุกคน และแต่ละคนจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร โดยเร็วที่สุด S: จุดแข็ง - อาจารย์ที่มีความรู้ทักษะหลากหลาย -บริการงานวิจัยมีความเฉพาะทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ W: จุดอ่อน - เงินสนับสนุนศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ลดลง - การประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง O: โอกาส -ได้รับเงินแผ่นดินจากรัฐบาล T: อุปสรรค -การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลจากการเลือกตั้ง

8 3. กระบวนการและเครื่องมือ
เครื่องมือที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ ใช้แบบ Personalized Model ดังนี้ Story Telling After Action Review (เล่าเรื่อง) (ทบทวนทันที) 4. หลักการเรียนรู้เพื่อสร้างความสำคัญของ KM เนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือ วัดผลการเรียนรู้ แก้ปัญหางบประมาณลดลง สมาชิกศูนย์นิติฯ -Story Telling -After Action Review ได้ผลงานวิจัย, โครงการฯ ใช้เวลาในการทำน้อยลง

9 5. การวัดผล 6. ระบบการให้รางวัล
เพื่อให้ทราบผลงานตามเป้าหมายหรือไม่ เปรียบเทียบ โดย KPI ที่ตั้งไว้ ถ้ามากกว่า KPI ที่ตั้งไว้ งบประมาณที่ศูนย์ได้รับสนับสนุนก็จะเพิ่มขึ้น 6. ระบบการให้รางวัล ประธานกล่าวชมเชยในที่ประชุม

10 กระบวนการจัดการความรู้
จัดหา จัดเก็บ ใช้ แชร์ ความรู้ใหม่

11 ตัดสินใจกำหนดโครงสร้าง ทบทวนโครงการว่าดีหรือยัง
การประเมิน การประเมิน เพื่อ สภาวะแวดล้อม การตัดสินใจวางแผน ปัจจัยเบื้องต้น ตัดสินใจกำหนดโครงสร้าง กระบวนการ การนำไปปฏิบัติ ผลงาน ทบทวนโครงการว่าดีหรือยัง เกณฑ์การวัดความสำเร็จ เกณฑ์ประสิทธิภาพ คือ ได้ผลงานตาม KPI ที่ตั้งไว้ เกณฑ์ประสิทธิผล เช่น ตำรวจตรวจพิสูจน์หลักฐาน กลับมาใช้บริการซ้ำ เกณฑ์ความพีงพอใจ เช่น โครงการฯ สรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจมาก

12 ตัวชี้วัด ใช้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : KPI


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google