งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

2 หลักการ/แนวคิดของศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเป็นของชุมชน บริหารจัดการโดยชุมชน ศูนย์บริการฯ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การเกษตร และเป็นกลไกการส่งเสริมการเกษตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่เลขาศูนย์ฯ ประสานงาน เชื่อมโยง กระตุ้น เร่งเร้า และเป็นที่ปรึกษา ใช้หลักการทำงานแบบบูรณาการ และทำงานกับชุมชนแบบมีส่วนร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

3 ผู้รับผิดชอบศูนย์บริการฯ ควรทราบกระบวนการทำงาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม การบริหารจัดการภาครัฐ CEO หลักการบริหารจัดการ แผนพัฒนาเกษตรปฏิบัติ การบริหารภาคประชาชน กรรมการศูนย์ฯ พัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น มีการถ่ายทอด/บริการ ศูนย์บริการฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

4 ศูนย์บริการเป็นกลไกในการทำงาน
หน่วยงานรัฐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล องค์กรเอกชน องค์กรท้องถิ่น ชุมชน/เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

5 ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกอย่างไร
บทบาทสำคัญ คือบูรณาการงานพัฒนาการเกษตรทุกเรื่อง ระหว่างรัฐ กับ รัฐ ระหว่างรัฐ กับท้องถิ่น/ชุมชน พัฒนาระบบการเรียนรู้ของชุมชน มีแผนของชุมชน มีระบบการเชื่อมโยง/สนับสนุน มีระบบการติดต่อสื่อสาร/ประสานงาน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

6 ความพร้อม/องค์ประกอบศูนย์
สำนักงาน และข้อมูล คณะกรรมการบริหารศูนย์ แผนพัฒนาการเกษตร จุดสาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยี 5. เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

7 การบริหารจัดการศูนย์เป็นเรื่องสำคัญ
เกษตรกรมาติดต่อจะพบใคร (เจ้าหน้าที่/เกษตรกรอาสาสมัคร/กรรมการศูนย์ฯ... ใครประจำศูนย์) สิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็น มีอะไรบ้าง ทำได้อย่างไร ระบบการรับ-ส่งเอกสาร คำขอรับบริการ ตู้รับฟัง ความคิดเห็น ระบบการติดตามผล (เกษตรกรจะติดตามผลที่ไหน) ช่องทางการติดต่อประสานงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

8 การทำให้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกที่ดี
ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ มีความมั่นใจและเชื่อมโยงการทำงานได้ กรรมการศูนย์ฯ รู้สึกภูมิใจและถือว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่ง ของศูนย์บริการฯ เกษตรกรรู้จักศูนย์ และรู้ว่าศูนย์มีบทบาทอย่างไร เกษตรกรมาร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ฯ องค์กรปกครองท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและให้การสนับสนุน เต็มที่ ข้าราชการ นักการเมืองมองภาพศูนย์ฯ ในเชิงบวก “ศูนย์ฯ ถือเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยมวลชนจำนวนมากและเป็นขุมกำลังที่ยิ่งใหญ่ของกรมฯ” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

9 ประสิทธิภาพการทำงานของกรรมการ
ต้องเข้าใจว่าตัวกรรมการ คือ ใคร มีบทบาทอย่างไร จะเริ่มทำงานอย่างไร ทำข้อตกลงร่วม / แบ่งหน้าที่ สร้างความรับผิดชอบในหน้าที่ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ติดตามผลงาน ปรับปรุงแก้ไข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

10 การบริหารจัดการที่ดีของกรรมการ
มีการวางแผนการทำงาน จัดองค์กรดี / เหมาะสม แบ่งบทบาทหน้าที่ ประสานงานในระดับต่างๆ รายงาน / เผยแพร่ผลงาน การจัดการงบประมาณที่ดี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

11 ศูนย์บริการฯ ต้องเปิดทุกศูนย์
จุดเน้น ศูนย์บริการฯ ต้องเปิดทุกศูนย์ กรรมการมีความพร้อม เข้าใจในบทบาท หน้าที่ และจัดการดี มีใจให้กับศูนย์บริการฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

12 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
สวัสดี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google