ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กิตติชาติ ชาติยานนท์ กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนทศ
2
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการส่งเสริมการเกษตร ทั้งการปฏิบัติงานในพื้นที่และการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2
3
หลักการของระบบส่งเสริมการเกษตร
1. ใช้ศูนย์บริการฯ (ศบกต.) เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยมีคณะกรรมการ ศบกต. อาสาสมัครเกษตร กลุ่ม/เครือข่าย ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากการปฏิบัติงาน และเรียนรู้ และทำงานร่วมกันเป็นทีม (Team Learning and Working) 4. นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงาน 3
4
แนวทางการดำเนินงาน 1. เสริมหนุนให้ ศบกต. สามารถทำงานได้ในการพัฒนาการเกษตรในระดับตำบล 2. สร้างเป้าหมายร่วมในการปฏิบัติงานในทุกระดับ 3. ใช้ความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงานเพื่อให้บุคลากรมีขีดความสามารถพร้อม (Knowledge Worker) 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทวัฒนธรรมในการทำงาน เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนรู้โดยชุมชนเอง 4
5
ของระบบส่งเสริมการเกษตร
องค์ประกอบ ของระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบการปฏิบัติงาน ในพื้นที่ ระบบสนับสนุน การปฏิบัติงาน 5
6
6
7
ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
7
8
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสำนักงาน เกษตรอำเภอ
เพื่อให้มีระบบที่เชื่อมโยงกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดแผนงาน/โครงการพัฒนาการเกษตร ที่สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร และ เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ 2 3 8
9
ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
ประกอบด้วยการทำงาน 2 ระดับ คือ ระดับอำเภอ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ การจัดทำข้อมูลการเกษตร ระดับตำบล การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล การจัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยี การให้บริการทางการเกษตร การส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย 9 9 9
10
แผนภูมิระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่
กลุ่ม/เครือข่าย แผนพัฒนาการเกษตร การเรียนรู้ บริหารจัดการ(ศบกต.) ข้อมูล การบริการ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน 10 10
11
กระบวนการทำงานในระดับอำเภอ
1 3 5 6 2 จัดทำข้อมูล อำเภอ 4 ฯลฯ จัดทำข้อมูล ตำบล 1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย แผนปฏิบัติงาน ส่งเสริม และพัฒนา สรุป/รายงาน เวทีวันจันทร์ เวที DM เวที DW ประจำปี แผนปี/เดือน - สนง. - บุคล แผนปฏิบัติงาน /โครงการ แนวทางพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ - โครงการ - ครงการ - โครงการ 1.ส่งเสริมการผลิต 4 ให้มีระบบ - การจัดเก็บ /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - การรวบรวม /บันทึก - การเผยแพร่ ผู้รับผิดชอบ - ข้าว - ไม้ผล - พืชผัก - พืชไร่ -ไม้ดอก - พืชฤดูแล้ง ประชาสัมพันธ์ - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. 2.กลไกขับเคลื่อน นสพ. วิทยุชุมชน TV จดหมายข่าว แผ่นปลิว ฯลฯ ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร 2.สถาบันเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ - ก.ส่งเสริมอาชีพ -ก.แม่บ้านเกษตรกร -ก.ยุวเกษตรกร 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ 3.วิสาหกิจชุมชน ผู้รับผิดชอบ 4.งานพัฒนาองค์กร ผู้รับผิดชอบ - งบประมาณ - สำนักงาน - บุคลากร จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา
12
. กระบวนการทำงานในระดับตำบล 1 3 4 5 2 จัดทำข้อมูล ตำบล วิเคราะห์
1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย การถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ การบริการ ส่งเสริม กลุ่ม/เครือข่าย ดำเนินการ ทำข้อมูลกลุ่ม /เครือข่าย แผนพัฒนากลุ่ม สนับสนุนการ ดำเนินกิจกรรม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แผนพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ 1.ณ.ศบกต. วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ 1.ส่งเสริมการผลิต - โครงการ - โครงการ - โครงการ - รับเรื่อง - ประสาน - แก้ไข/ให้ความรู้ - ติดตามผล - ข้าว - ไม้ผล - พืชผัก - พืชไร่ -ไม้ดอก - พืชฤดูแล้ง - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. ให้มีระบบ - ทบทวน /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - จัดเก็บ/ รวบรวม/ - การเผยแพร่ - ใช้ประโยชน์ 2.กลไกลขับเคลื่อน 2.คลินิกประหยัด ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร ตามความต้องการ ของชุมชน เร่งด่วน/โดยรวม ตามกระบวนการ คลินิกเกษตร ร่วมกับกรรมการศูนย์ฯ 2.สถาบันเกษตรกร - ก.ส่งเสริมอาชีพ - กแม่บ้านเกษตรกร - ก.ยุวเกษตรกร 3.วิสาหกิจชุมชน 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ 4.งานพัฒนาศูนย์ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ - เครื่องมือ/อุปกรณ์ - สำนักงาน - บุคลากร . นำเสนอ/ บรรจุเข้าแผน อปท. จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา
13
กระบวนการพัฒนาและปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 2 วิเคราะห์สถานการณ์ ระบบการทำงานในพื้นที่ เทียบเคียงกับผลสำเร็จ/ ผลผลิต ของระบบใหม่ 1.การทำงานระดับอำเภอ -จัดทำข้อมูลการเกษตร - กำหนดเป้าหมายร่วม - จัดทำแผนปฏิบัติงาน - มอบหมายผู้รับผิดชอบ - การดำเนินการส่งเสริม - ติดตาม ประเมิน รายงาน - มีฐานข้อมูล และเป้าหมายของ สนง. - มีแผนพัฒนาที่ชุมชนปฏิบัติได้เอง - มีการบูรณาการกับท้องถิ่น - มีกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง - มีการให้บริการที่รวดเร็ว ทั่วถึง - ชุมชนร่วมประเมิน/ปรับปรุงงาน - ชุมชนมีส่วนร่วมสร้างกลุ่ม/เครือข่าย ให้รู้ว่า วิธีการทีทำอย่เป็นอย่างไร ผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร มีปัญหา อุปสรรคอะไร จะ ต้องแก้ไขอะไร/อย่างไร 2.การทำงานระดับตำบล - จัดทำข้อมูลการเกษตร - แผนพัฒนาการเกษตร - จัดการเรียนรู้/ถ่ายทอด - การให้บริการ - ส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย จะรู้ว่า บรรลุเป้าหมายหรือยัง มีช่องว่างอะไร จะพัฒนา ปรับปรุงอะไรบ้าง 5 3 4 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาปรับปรุง กำหนดวิธีการทำงาน ใหม่ในทุกประเด็นทั้ง ระดับอำเภอ/ตำบล ปฏิบัติงานตาม วิธีการใหม่ (Action) ใช้เวที - ทุกวันจันทร์ - DM - DW จำลอง พุฒซ้อน สนง.เกษตรจังหวัด อ.ย.
14
แผนที่ความคิด (Mind Map)
ระบบส่งเสริมการเกษตร ของสำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี
15
กลไกการดำเนินงานจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
ท้องถิ่น ศบกต. ระบบส่งเสริมการเกษตร (พื้นที่) ข้อมูลการเกษตร อปท. แผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารฯ ศบกต. บริการจัดการ แผนปฏิบัติการ จนท./ ศบกต./ อปท. สนับสนุน เวทีชุมชน การเรียนรู้ ภารกิจถ่ายโอน เกษตรกร การให้บริการ บูรณาการแผน แผนพัฒนาการเกษตร (ปี ๕๕-๕๗) เครือข่ายการทำงาน ร่วมกับ ศบกต. ด้าน การถ่ายทอด ด้านการลงทุน เชิงธุรกิจ/ วิสาหกิจชุมชน ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประชุมผู้แทนคณะ กก.ศบกต. เตรียมจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบลบูรณาการกับแผนพัฒนาท้องถิ่น อาสาสมัครเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) เป็นวิทยากร ศูนย์เรียนรู้ การเกษตรพอเพียง จุดสาธิต/ ถ่ายทอด ศบกต. สนง.กษจ. รับสมัคร คัดเลือกโดยคณะกรรมการ ศบกต. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าที่ และถ่ายทอดความรู้ ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรเป้าหมาย GAP ยากจน ก้าวหน้า เกษตรกรทั่วไป/ ผู้สนใจ วิทยากร/ ปราชญ์
16
ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน (ฉบับปรับปรุง ปี 2553)
16
17
วัตถุประสงค์ สนับสนุน จนท.ส่งเสริมฯ ทุกระดับให้สามารถ 1
ปฏิบัติงานตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานในกรมฯ ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของ จนท. ในพื้นที่ 1 2 17
18
องค์ประกอบ การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน 1
การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากร ในการปฏิบัติงาน การสนับสนุนทางวิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ การติดตามและประเมินผล 1 2 3 4 5 18
19
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ของบุคลากรฯ
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล 19
20
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ของบุคลากรฯ
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร สัมมนาเชิงปฏิบัติการตามระบบส่งเสริมการเกษตร ประชุมเพื่อการบริหาร การฝึกอบรมเฉพาะกิจ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง การนิเทศงาน 20
21
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
ประกอบด้วย - การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร - การประชุม เพื่อการบริหาร 21
22
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
1 เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ สัมมนา เจ้าภาพ การจัดเวที NW ส่วนกลาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี RW เขต ปีละ 3 ครั้ง PW จังหวัด DW อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 22
23
เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร
2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที ผู้บริหารกรมฯ ส่วนกลาง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ฯ หน่วยงาน ทุกเดือน กษจ./หน.ส่วนฯ ระดับเขต เขต ทุก 3 เดือน 23
24
เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ)
2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที PM จังหวัด เดือนละ 1 ครั้ง MM เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 4 DM อำเภอ เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 1 WM ทุกสัปดาห์ (1 วัน) 24
25
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับประเทศ (National Workshop: NW) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง เขต ศูนย์ปฏิบัติการ และจังหวัด ในเรื่องการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร รวมทั้งเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับประเทศ ดำเนินการจัดโดยส่วนกลาง อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 25
26
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขต (Regional Workshop: RW) เพื่อเป็นเวทีสำหรับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการ ร่วมกันกำหนดแผนการปฏิบัติงาน การติดตามนิเทศงาน และประเมินผลในระดับเขต พร้อมทั้งการสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการจัดโดยสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง 26
27
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับจังหวัด (Provincial Workshop: PW) เพื่อเป็นเวทีให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของจังหวัดได้ร่วมกันกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน ดำเนินการโดยสำนักงานเกษตรจังหวัด กำหนดจัดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ จังหวัดสามารถเชิญศูนย์ปฏิบัติการหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมได้ตามความเหมาะสม 27
28
เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตามระบบส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับอำเภอ (District Workshop: DW) เพื่อเป็นเวทีให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยระดับจังหวัดเป็นผู้อำนวยความสะดวกและเข้าร่วมทุกครั้ง กำหนดจัดอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ในสัปดาห์ที่ 3 โดยอาจแบ่งสายรวมอำเภอได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ให้อำเภอหมุนเวียนในการเป็นเจ้าภาพ 28
29
เวทีประชุมเพื่อการบริหาร
1. การประชุมผู้บริหารกรมส่งเสริมการเกษตร 2. การประชุมสำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ 3. การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต 4. การประชุมสำนักงานเกษตรจังหวัดประจำเดือน (Provincial Meeting: PM) 5. การประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน (Monthly Meeting: MM) 6. การประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (District Monthly Meeting: DM) 7. ประชุมเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอประจำสัปดาห์ (Weekly Meeting: WM) 29
30
กิจกรรม ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2555
ระดับเขต การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับเขต (RW) จำนวนเขตละ 2 ครั้ง ครั้งละ 3 วัน 53 คน ประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต จำนวนเขตละ 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน 20 คน 30
31
กิจกรรม ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2555
ระดับจังหวัด สัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับจังหวัด (PW) จำนวนจังหวัดละ 2 ครั้งๆ ละ 1 วัน สัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับอำเภอ (DW) จำนวนจังหวัดละ 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน 31
32
การจัดอบรมเฉพาะกิจ (Task force)
เป็นการจัดอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งด้านบริหาร จัดการและด้านวิชาการ เช่น หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ หลักสูตรอบรมที่ปรึกษาการผลิตพืชตามระบบคุณภาพ หลักสูตรอบรมข้าราชการบรรจุใหม่ 32
33
ส่งเสริมเรียนรู้ด้วยตนเอง
สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้จากช่องทางต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกกรม เช่น Web Blog (เรื่องเล่า) คลังความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร (DOAE K-center) E-learning Internet เรียนรู้ด้วยตนเองจากการทำงาน (On-the Job Learning) 33
34
การการสนับสนุนทางวิชาการ
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนข้อมูลความรู้ด้านวิชาการเกษตร และวิชาการส่งเสริมการเกษตรแก่บุคลากรของกรมส่งเสริมการเกษตรทุกระดับ ให้ได้รับความรู้ไปปฏิบัติงานอย่างสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ 34
35
การการสนับสนุนทางวิชาการ
แนวทางการดำเนินงาน ให้ความรู้ทางวิชาการ รวมถึงวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ สนับสนุนให้บุคลากรของกรมสามารถทำการวิจัยเพื่อพัฒนางาน โดยจะได้รับการสนับสนุนให้สามารถพัฒนางานประจำให้เป็นงานวิจัย (Routine to Research: R2R) ให้บริการทางการเกษตร เช่น ตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช นิทรรศการ การสาธิต ตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิต ฯลฯ 35
36
การการสนับสนุนทางวิชาการ
บทบาทภารกิจของผู้เกี่ยวข้อง กอง/สำนัก/สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1. ประมวลความต้องการทางด้านวิชาการของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร 2. ให้ความรู้ทางวิชาการ ผ่านช่องทาง/วิธีการต่าง ๆ 3. จัดเตรียมหลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 4. จัดทำชุดความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร 36
37
การการสนับสนุนทางวิชาการ
ศูนย์ปฏิบัติการ 1. ให้ข้อมูลความรู้ด้านวิชาการเกษตร รวมถึงการสนับสนุนวิทยากรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ในด้านที่รับผิดชอบ 2. ให้บริการทางการเกษตรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักเกษตรจังหวัดและเกษตรอำเภอ 3. พัฒนาหลักสูตรการฝึกอาชีพเกษตรกร 4. จัดทำชุดความรู้ด้านการเกษตรในระดับศูนย์ปฏิบัติการ 37
38
การการสนับสนุนทางวิชาการ
สำนักงานเกษตรจังหวัด 1. ประมวลความต้องการทางด้านวิชาการเกษตรและวิชาการส่งเสริมการเกษตรของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในจังหวัด 2. ให้การสนับสนุนทางด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรภายในจังหวัด 3. จัดทำชุดความรู้ด้านการเกษตรระดับจังหวัด 38
39
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร และคลังความรู้ในการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรในทุกระดับ 2. เพื่อให้มีการจัดทำฐานข้อมูลต่าง ๆ ทางการเกษตร อย่างเป็นระบบ สามารถที่จะเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสารระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในของกรมส่งเสริมการเกษตร 39
40
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางการดำเนินงาน 1. พัฒนาและจัดวางระบบฐานข้อมูลกลาง 2. ให้บริการข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบเครือข่าย 3. เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และข้อมูลสารสนเทศระดับองค์กร 40
41
การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บุคลากรของกรมส่งเสริมการเกษตร และประชาชนทั่วประเทศได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ถึงเกษตรกรได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ และต่อเนื่อง 2. เพื่อเผยแพร่ผลการดำเนินงาน และสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร 41
42
การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
แนวทางการดำเนินงาน 1. กำหนดกรอบ และแผนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ที่สอดคล้องกับนโยบาย และผลงานกรมส่งเสริมการเกษตร 2. ดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อที่เหมาะสม 3. เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรที่รับผิดชอบงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทุกระดับ 4. พัฒนาเครือข่ายการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ 5. จัดให้มีการสนับสนุนเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ทั้งในด้านงบประมาณ เครื่องมือ ติดตามประเมินผล และงานวิจัยเพื่อวัดผลสำเร็จของงาน 42
43
การติดตามงาน บทบาทภารกิจของผู้เกี่ยวข้อง
สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต 1. ติดตามงานจังหวัดในลักษณะของคณะติดตามโดยกำหนดประเด็นในการติดตามงานให้สอดคล้องกับประเด็นที่กรมฯ กำหนด และประเด็นอื่น ๆ ตามความเหมาะสมภายในเขต ติดตามจังหวัดอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 3. รายงานการติดตามงานเสนอต้นสังกัดทุกครั้งที่มีการติดตาม 4. ร่วมเป็นคณะติดตามงานที่กรมฯ ดำเนินการ 43
44
การติดตามงาน บทบาทภารกิจของผู้เกี่ยวข้อง สำนักงานเกษตรจังหวัด
ติดตามเป็นคณะติดตามงานของจังหวัด โดยมีเจ้าหน้าที่ครบทุกฝ่าย/กลุ่ม หรือติดตามเฉพาะเรื่อง เฉพาะราย 2. ติดตามครบทุกอำเภอภายใน 2 เดือน 3. รายงานผลในที่ประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน (MM) เพื่อร่วมกันวิเคราะห์/แลกเปลี่ยน และแก้ไขปัญหา 44
45
การติดตามงาน บทบาทภารกิจของผู้เกี่ยวข้อง สำนักงานเกษตรอำเภอ
1. เกษตรอำเภอติดตามการปฏิบัติงาน และให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานในพื้นที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรครบทุกคน/ทุกตำบล ภายใน 1 เดือน 2. สรุปผลแจ้งในที่ประชุมเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอประจำสัปดาห์ และ/หรือที่ประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (DM) เพื่อแลกเปลี่ยนและแก้ไขปัญหาร่วมกัน 45
46
การนิเทศงาน วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความสามารถในการปฏิบัติงาน 2. เพื่อเสริมสร้างขวัญกำลังใจ รวมทั้งพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ 46
47
การนิเทศงาน แนวทางการดำเนินงาน (อาจจะดำเนินการร่วมกับการติดตามงาน)
1. ระดับการนิเทศงาน 2 ระดับ (1) กรม/เขต เน้นนิเทศงานระดับจังหวัด เป็นหลัก กรณีจำเป็นจะต้องนิเทศงาน อำเภอ/ตำบล ต้องไปร่วมกับนิเทศงานระดับ จังหวัด (2) จังหวัด นิเทศงานระดับอำเภอ/ตำบล 47
48
ซั ก ถ า ม & แ ล ก เ ป ลี่ ย น 48
49
ส วั ส ดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.