งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
นายอรรถ อินทลักษณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

2 วัตถุประสงค์ 1. กำจัดเพลี้ยแป้งในไร่มันสำปะหลังให้หมดไป
2.ป้องกันไม่ให้เพลี้ยแป้งระบาดในฤดูการเพาะปลูกต่อไป

3 เป้าหมาย 20 จังหวัด 102 อำเภอ 447 ตำบล เกษตรกรประมาณ 53,000 ราย

4 มาตรการ 2 มาตรการ มาตรการเร่งด่วน ในการกำจัดเพลี้ยแป้งในไร่มันสำปะหลังให้ลดการระบาดลงให้มากที่สุด มาตรการระยะยาว การป้องกันไม่ให้เพลี้ยแป้ง ระบาดในฤดูการเพาะปลูกต่อไป

5 ข้อมูลการใช้กิ่งพันธุ์
ฐานข้อมูลการผลิต พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ปลูกเฉลี่ย/ราย (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ (ตัน) ผลผลิตรวม(ล้านตัน) 7.7 437,000 20 3.6 27 ข้อมูลการใช้กิ่งพันธุ์ พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) พื้นที่เสียหาย(ล้านไร่) พื้นที่ไม่ถูกทำลายโดยเพลี้ยแป้ง (ล้านไร่) พื้นที่สำหรับทำพันธุ์ 7.7 0.6 7.1 1.5 (อัตราขยายพันธ์ 1:5)

6 การจัดการกิ่งพันธุ์ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 7.7 ล้านไร่ พื้นที่เสียหาย 0.6 ล้านไร่ ยังมีพื้นที่ทำพันธุ์ 7.1 ล้านไร่ เกษตรกรต้องการพันธุ์เพียง 1.5 ล้านไร่ “มีพันธุ์เพียงพอ” แต่ต้องบริหารจัดการไม่ให้นำพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งเข้าทำลายไปทำพันธุ์ต่อ ต้องคัดเลือกกิ่งพันธุ์ที่ไม่มีเพลี้ยแป้งเข้าทำลาย ฉีดพ่นกิ่งพันธุ์ด้วยสารเคมีก่อนการเคลื่อนย้ายและแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกทุกครั้ง การบริหารจัดการโดยการ “รณรงค์และศูนย์บริหารจัดการพืชชุมชน”

7 การรณรงค์ สร้างแกนนำ โดยคัดเลือกเกษตรกร 40 ราย ที่ปลูกมันสำปะหลังและมีประสบการณ์การเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ในพื้นที่ของตนเอง ให้ความรู้แกนนำ แกนนำดูแลเครือข่ายในพื้นที่ข้างเคียง โดยมีหน่วยปฏิบัติการพิเศษระดับตำบลให้การสนับสนุน การป้องกันไม่ให้เกิดระยะยาว ใช้ศูนย์บริหารจัดการพืชชุมชน และหมู่บ้านต้นแบบ

8 4 8 1 2 7 3 6 5 มาตรการเร่งด่วน/การรณรงค์ 1 จุดรณรงค์
คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกร 40 คนที่ได้เคยมีการระบาดเพลี้ยแป้งในพื้นที่ตนเอง 1 กำหนดแนวทาง ข้อมูลบ้านต้นแบบ 2 7 เตรียมอุปกรณ์ สำหรับ การฉีดพ่นยา การแช่ท่อนพันธุ์ การใช้หน้ากาก ถุงมือ จัดตั้งศูนย์บริหารและจัดการศัตรูพืชชุมชน 40 คนต่อ 1 จุด รณรงค์ ต่อวัน 3 6 สรุปสถานการณ์ ในวันรณรงค์ โดยเกษตรกร 40 ราย และผู้เกี่ยวข้อง 3 วันรณรงค์ -อบรม -ปฏิบัติการจริง 4 ครั้ง 40 คน เทคโนโลยีที่ใช้ -ไถทิ้ง -ตัดยอด -พ่นสารเคมี -แช่ท่อนพันธุ์ การบันทึกข้อมูล 1. พื้นที่ปลูก 2. พื้นที่การระบาด 3. พื้นที่รณรงค์ 4. วิธีการรณรงค์ ตำบลละ 2 จุด ๆ ละ 40 ราย 4 5

9 output แปลงมันสำปะหลังที่ได้รับการป้องกันกำจัด
จัดตั้งศูนย์บริหารจัดการศัตรูพืชชุมชน แนวทางหมู่บ้านต้นแบบ และการพัฒนาเพื่อเป็นวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรได้รับความรู้ 894 จุด x 40 คน = 35,760 ราย พื้นที่ 600,000 ไร่

10 องค์ประกอบของศูนย์บริหารจัดการศัตรูพืชชุมชน
1 572 ศูนย์ อยู่ใน -เขตจังหวัดรุนแรง 20 จังหวัด 447 ศูนย์ -เขตเฝ้าระวัง 25 จังหวัด 125 ศูนย์ 1. แปลงเรียนรู้การพยากรณ์ 2. แปลงเรียนรู้การแช่ท่อนพันธุ์ 3. แปลงเรียนรู้การป้องกันการระบาดของศัตรูพืช ศูนย์ปฏิบัติการศัตรูพืชชุมชน 30 คน ต่อ ศูนย์ฯ 4 ผลิตและขยาย ศัตรูธรรมชาติ และสารชีวภัณฑ์ ถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกร อย่างต่อเนื่อง 2 -บริการจัดการแช่ท่อนพันธุ์ บริการท่อนพันธุ์ โดยจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน เป้าหมาย 572 ศูนย์ x 30 ราย = 17,160 ราย 3

11 เกษตรกรที่ได้รับประโยชน์ในปีแรก โดยตรง ประมาณ 53,000 ราย ( 35, ,160 ราย) พื้นที่ระบาด 600,000 ไร่ (พื้นที่) และพื้นที่เฝ้าระวัง ไร่


ดาวน์โหลด ppt หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google