ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChannarong Phrompan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
สำนักงานเกษตรอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
2
คณะทำงาน คุณอำนวย นางสุภาพร บุญประเสริฐ เกษตรอำเภอโพธาราม
นางสุภาพร บุญประเสริฐ เกษตรอำเภอโพธาราม นายประชิน สังขานวม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายสิงห์ สวัสดี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คุณลิขิต นายเสรี มุ่งเมือง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายไตรภูมิ หนูเอียด นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร คุณกิจ นายชวลิต กลิ่นเกษร เจ้าพนักงานการเกษตร 6 นายปัญญา ลูกรักษ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นางจิตรา ลี้เลอเกียรติ เจ้าพนักงานการเกษตร 6
3
คณะทำงาน คุณเล่า นายลับ ตุ้มทับ เกษตรกรตำบลชำแระ
นายลับ ตุ้มทับ เกษตรกรตำบลชำแระ นายจำลอง ทองรุ่ง เกษตรกรตำบลนางแก้ว นายสมนึก พระไทรโยค เกษตรกรตำบลท่าชุมพล นายอบเชย ศรีวงศ์ราช เกษตรกรตำบลท่าชุมพล นายอนงค์ เนียมขันธ์ เกษตรกรตำบลนางแก้ว นายสนิท ร่มโพรีย์ เกษตรกรตำบลนางแก้ว
4
คณะทำงาน คุณเอื้อ นายโชคดี ตั้งจิตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว
นายโชคดี ตั้งจิตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายนพดล สร้อยน้ำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายปริญญา ขำเจริญ เจ้าพนักงานการเกษตร 6 นายวิจิตร กณะโกมล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายวิวัฒน์ ภู่พร้อม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 4
5
การเตรียมดิน การไถแห้ง
หลังเก็บเกี่ยวข้าว ไถกลบตอซังและฟางข้าว ตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน
6
การเตรียมดิน การใช้สารย่อยสลาย - ปล่อยน้ำเข้านา - ฉีดน้ำหมักย่อยสลาย
1. สูตรน้ำหมักหน่อกล้วย 2. สูตรน้ำหมักชีวภาพ
7
การเตรียมดิน สูตรน้ำหมักหน่อกล้วย (หัวเชื้อ) วัสดุ
- หน่อกล้วยอ่อนสูง 1 เมตร ก.ก. - กากน้ำตาล ก.ก. วิธีทำ - นำหน่อกล้วยสับละเอียดเคล้ากากน้ำตาล หมักทิ้งไว้ในถังพลาสติกนาน 7 วัน คั้นน้ำนำมาใช้ฉีดสลายฟางข้าว 5 ลิตร/ไร่ หากปล่อยเข้านาตามน้ำ ใช้ 10 ลิตร/ไร่ - หากต้องการนำมาขยายหัวเชื้อ หัวเชื้อ : กากน้ำตาล : น้ำ : หยวกกล้วยแก่ 1 : 5 : 100 : 20
8
การเตรียมดิน สูตรน้ำหมักชีวภาพ
วัสดุ ปลาหรือหอยเชอรี่ : ผลไม้ : กากน้ำตาล : น้ำ / หัวเชื้อ พด.2 = 30 : 10 : 10 : 10 / หัวเชื้อ 1 ซอง วิธีทำ ละลายสารเร่ง พด.2 กับน้ำ 10 ลิตร ผสมเศษวัสดุและกากน้ำตาลลงในถังหมัก เทสารละลาย พด.2 คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 21 วัน อัตราการใช้ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพฉีดสลายฟางข้าว 5 ลิตร/ไร่ หากปล่อยเข้านาตามน้ำ ใช้ 10 ลิตร/ไร่
9
การเตรียมดิน การไถกลบ , ทำเทือก
หลังจากฉีดน้ำหมักชีวภาพ 7 – 10 วัน จึงไถกลบแล้วทำเทือก
10
ประโยชน์ที่ได้รับโดยการไม่เผาตอซัง
ง่ายต่อการเตรียมดิน ดินไม่สูญเสียธาตุอาหาร ดินมีอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิต - ลดการใช้ปุ๋ยเคมี - ลดการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว - ลดการใช้สารเคมี อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
11
ประโยชน์ที่ได้รับโดยการไม่เผาตอซัง
อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น
12
การจัดรณรงค์ลดการเผาตอซัง
การจัดงานรณรงค์ยุติการเผาและส่งเสริมการไถลกลบตอซัง อำเภอโพธาราม ได้ดำเนินงานร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี ในพื้นที่ตำบลท่าชุมพล ตำบลธรรมเสน ตำบลชำแระ และตำบลนางแก้ว เพื่อเป็นตำบลต้นแบบนำร่องและขยายผลออกไปในตำบลอื่นๆ
13
ขอบคุณครับ สำนักงานเกษตรอำเภอโพธาราม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.