งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Coagulation and Flocculation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Coagulation and Flocculation"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Coagulation and Flocculation

2 คอลลอยด์ อนุภาคคอลลอยด์ โดยทั่วไปมีขนาดของอนุภาคอยู่ในช่วง 1 จนถึง1000 นาโนเมตร เนื่องจากมีขนาดเล็กจึงไม่สามารถตกตะกอนได้ด้วยน้ำหนักของตัวเองในเวลาจำกัด และ นอกจากนี้อนุภาคคอลลอยด์เมื่ออยู่ในน้ำจะมีประจุประจำตัว ทำให้อนุภาคเหล่านั้นมีเสถียรภาพสูง ดังนั้นการทำให้อนุภาคต่างๆรวมตัวกันและจับกันเป็นก้อน มีขั้นตอน 2 ขั้นตอน

3 Coagulation จึงเป็นการสร้างตะกอน
เป็นกระบวนการทำลายเสถียรภาพ(Destabilization) ของอนุภาคคอลลอยด์ โดยวิธีการเติมสารCoagulant ทำให้อนุภาคดึงดูด เข้าหากัน เกิดการจับก้อน หรือจับตัวเป็นตะกอน Coagulation จึงเป็นการสร้างตะกอน

4 การทำลายเสถียรภาพ (Destabilization) ของอนุภาคคอลลอยด์
เติมสารละลายของเกลือ ใส่สารเคมีบางหมู่ที่มีความสามารถ ให้ประจุตรงกันข้ามกับอนุภาคคอลลอยด์ เติมสารพอลิเมอร์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เพื่อเป็นสะพานเชื่อมต่ออนุภาค การทำลายเสถียรภาพ (Destabilization) ของอนุภาคคอลลอยด์ สร้างผลึกขึ้นมาเพื่อให้อนุภาคคอลลอยด์มาเกาะจับ (Sweep Coagulation)

5 อนุภาคคอลลอยด์ Coagulation

6 Flocculation จึงเป็นการรวมตะกอน
เมื่อทำให้อนุภาคคอลลอยด์ที่หมดเสถียรภาพและเกิดการจับตัวกันเป็นตะกอนแล้ว ตะกอนเหล่านั้นเคลื่อนที่มาสัมผัสกัน จะเกิดการเกาะรวมกัน เป็นตะกอนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น Flocculation จึงเป็นการรวมตะกอน

7 วิธีการสร้างสัมผัสให้อนุภาคมีหลายวิธี แต่ที่นิยมคือ
การกวนอย่างช้าๆ ทำให้อนุภาคคอลลอยด์เคลื่อนที่ไปมาในน้ำจนกว่า จะมีการสร้างสัมผัสเกิดขึ้น

8 Coagulation Floculation

9 สะพานเชื่อมต่ออนุภาคคอลลอยด์ โดยใช้สารพอลิเมอร์

10 อนุภาคคอลลอยด์ พอลิเมอร์

11 FLOC

12 การประยุกต์ใช้ Coagulation และ Flocculation
การนำกระบวนการทั้ง มาใช้ในอุตสาหกรรม โดยใช้ในการขจัดสารแขวนลอย ที่ทำให้น้ำเสียออกไปได้ ได้แก่โปรตีนต่างๆ ที่มาจากโรงฆ่าสัตว์ อุตสาหกรรมนม หรือสีย้อมผ้าจากโรงงานทอผ้า เป็นต้น

13 การทำให้น้ำสะอาดก่อนจะนำน้ำจากธรรมชาติมาใช้ในการอุปโภคบริโภค
Coagulation Flocculation การทำให้น้ำสะอาดก่อนจะนำน้ำจากธรรมชาติมาใช้ในการอุปโภคบริโภค

14 ยกตัวอย่าง Coagulation และ Flocculation
เติม Ferric chloride ขั้นตอนที่ 1 Coagulation เฟอริกคลอไรด์นี้จะทำหน้าที่สะเทินประจุบนผิวของอนุภาคต่างๆทั้งที่แขวนลอยและละลายอยู่ในน้ำ ให้กลายเป็นกลาง อนุภาคมีขนาดใหญ่ขึ้นเกิดเป็นตะกอนเล็กๆขนาดระหว่าง 10-9 – 10-7 ม. ขั้นตอนที่ 2 Flocculation เฟอริกคลอไรด์จะทำหน้าที่รวมตะกอนเล็กๆซึ่งเกิดขึ้นจากขั้นตอนที่ 1 ให้เป็นตะกอนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ขนาดมากกว่า 10-7 ม.ซึ่งถือว่าเป็นขนาดของตะกอนที่ใหญ่และหยาบทำให้ง่ายต่อขบวนการแยกตะกอนออกจากน้ำในขบวนการต่อไป

15 ขั้นตอนที่ 1 Coagulation
ขั้นตอนที่ 2 Flocculation

16 Coagulation การสร้างตะกอน Flocculation การรวมตะกอน

17 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt Coagulation and Flocculation

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google