งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย
อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี หัวหน้าโครงการสหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Suranaree University of Technology

2 สหกิจศึกษาต่างกับฝึกงาน ?
นักศึกษาไปทำงานจริงเต็มเวลา 4 เดือน มีสถานภาพเหมือนลูกจ้างของบริษัท ปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัท งานตรงกับสาขาวิชาชีพที่เรียน มีการประเมินจากพี่เลี้ยงอย่างมีระบบ มีการทำรายงานที่เป็นประโยชน์กับบริษัท ต้องจบภาคการศึกษาสุดท้ายที่มหาวิทยาลัย 1 Suranaree University of Technology

3 มหาวิทยาลัย: จะเริ่มต้นอย่างไร
การปรับหลักสูตร ภาคการศึกษา การจัดการเรียน การสอน คุณสมบัตินักศึกษา (GPAX, ความประพฤติ) การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา นักศึกษาจะออกไปทำงานอะไร (ควรเรียนผ่านวิชาชีพที่สำคัญอะไรบ้าง) การเตรียมความพร้อมบุคลากร 2

4 ภาคสหกิจศึกษา 3 ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4
ภาคเรียนสหกิจศึกษา (Co-op Ed. Term) ภาคเรียนปกติ Sep Aug Jul Jun Oct Apr Mar Feb Jan Dec Nov May ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4 Co-op Ed. 3 Suranaree University of Technology

5 การเตรียมความพร้อมให้นศ.
ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 4

6 นักศึกษาจะไปทำงานอะไร
การเรียนรู้โดยใช้การทำงานจริงเป็นหลัก = Work-based learning จะเป็นงานประจำหรือโครงงาน ก็ได้ มทส. เน้นโครงงานพิเศษ หรืองานวิจัยขนาดเล็ก = Problem-based learning งานที่ทำ = Project work + Routine work น้ำหนักของงานอยู่ที่ Project 5

7 กระบวนการสหกิจศึกษา 1. ก่อนสหกิจศึกษา 2. ระหว่างสหกิจศึกษา
3. สิ้นสุดสหกิจศึกษา 6

8 ก่อนสหกิจศึกษา: มหาวิทยาลัย
การเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา (เก่งงาน และ เก่งคน) การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) การจับคู่ระหว่าง นักศึกษา-องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่เหมาะสม 7

9 ก่อนสหกิจศึกษา: องค์กรผู้ใช้บัณฑิต
การจัดหางานคุณภาพ (โครงงาน เน้น Problem-based learning: PBL) เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน เกิดจากการระดมความคิดของแผนก ส่วนงาน การจัดให้มีพี่เลี้ยง จัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์/ที่ทำงานที่เหมาะสม มีอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ค่าตอบแทนและสวัสดิการ 8

10 การหาองค์กรผู้ใช้บัณฑิต
มหาวิทยาลัยต้องเป็นฝ่ายพัฒนาความสัมพันธ์ การพัฒนาความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นและต่อยอด เริ่มต้นใช้เครือข่าย 9

11 ระหว่างสหกิจศึกษา พี่เลี้ยง-นศ. ร่วมกันวางแผนการทำงาน ส่งแผนกลับไปให้อาจารย์นิเทศ อาจารย์ไปนิเทศ ให้คำปรึกษาแก่ นศ./ประเมิน นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ประชุมรายงานความก้าวหน้า ประชุมนำเสนอรายงานผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. ณ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต พี่เลี้ยงประเมินผลการทำงาน/รายงานของ นศ. 10

12 สิ้นสุดของกระบวนการสหกิจศึกษา
มหาวิทยาลัยจัดให้มีการนำเสนอผลการศึกษาการทำโครงงานของ นศ. แยกตามสาขาวิชา เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่าง นศ.และคณาจารย์ ประเมินผลการนำเสนอ/ นศ.สหกิจศึกษาดีเด่น คณาจารย์ต้องเข้าร่วมกิจกรรม ส่งรายงานวิชาการ 11

13 12 บทบาทและภาระงาน อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา การจัดหลักสูตรที่เหมาะสม
หาและรับรองงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยและสหกิจศึกษา ติดตามความคืบหน้าในการปฏิบัติงานของ นักศึกษาสหกิจศึกษา / นิเทศงาน ตรวจทานและให้คำแนะนำการเขียนรายงาน สหกิจศึกษาของนักศึกษา ร่วมสัมมนาและประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 12 Suranaree University of Technology

14 13 บทบาทและภาระงาน พี่เลี้ยง กำหนดงานที่มีคุณภาพให้นักศึกษา
กำกับ ให้คำแนะนำนักศึกษาในการปฏิบัติงาน ตรวจและให้คำแนะนำการเขียนรายงานสหกิจศึกษา /การนำเสนอ ของนักศึกษา จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือและสถานที่ทำงานที่เหมาะสมให้นักศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา 13 Suranaree University of Technology

15 การดำเนินงาน 14 จัดหางาน/รับรองงาน
Suranaree University of Technology 14 จัดหางาน/รับรองงาน จับคู่ระหว่าง นศ. และ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต จัดทำจดหมายส่งตัว นศ. นิเทศในช่วงเวลาที่เหมาะสม/ติดตามการทำงาน จัดกิจกรรมหลังกลับ ประเมินผลโดยสาขาวิชา ภาคก่อนไป นศ. ลงเรียนวิชาPre co-op นศ. อยู่ที่ องค์กรผู้ใช้บัณฑิต ที่มหาวิทยาลัย คณาจารย์ควรมีส่วนร่วม

16 Key Success Factors ผู้บริหารสูงสุดให้การสนับสนุนทั้งทางด้านนโยบายและทรัพยากร คณาจารย์ต้องเข้าใจและทุ่มเท (จัดการหลักสูตร/ประชาสัมพันธ์/หางาน/นิเทศ) มีการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง งานที่ให้นักศึกษาปฏิบัติต้องมีคุณภาพ (PBL, ตรงตามสาขาวิชาชีพ) 15 Suranaree University of Technology

17 Key Success Factors ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น อาจารย์ นักศึกษา พี่เลี้ยง ผู้ประสานงาน (เจ้าหน้าที่สหกิจศึกษา นักวิชาการสหกิจศึกษา) ต้องเข้าใจบทบาทของตนเอง มีหน่วยงานกลาง (ระดับคณะ หรือ มหาวิทยาลัย) รับผิดชอบชัดเจน จัดสร้างเครือข่ายความร่วมมือ มีระบบประกันคุณภาพ / ประเมินที่เหมาะสม 16 Suranaree University of Technology

18 การพัฒนาสหกิจศึกษา 17 การพัฒนางานคุณภาพ
ทีม (นศ.+ นศ., อาจารย์+นศ. เอก โท ตรี) สหสาขาวิชา นานาชาติ งานวิจัยสหกิจศึกษา การเตรียมความพร้อมให้ นศ. 17 Suranaree University of Technology

19 http://coop.sut.ac.th 18 Cooperative Education &
Career Development Project 18 Suranaree University of Technology

20 สมาคมสหกิจศึกษาไทย 19 นิติบุคคล
ดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษาตามที่ สกอ. กำหนด (หน่วยงานกลาง การสร้างความรู้ความเข้าใจ การช่วยเหลือให้ทั้งสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิตดำเนินการสหกิจศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเครือข่าย แลกเปลี่ยนความรู้ ฯ) 19 Suranaree University of Technology

21 สมาคมสหกิจศึกษาไทย สมัครสมาชิก (สถาบันและบุคคล) ได้ที่
ผศ.เพ็ญศรี ดร.อลงกต 20 Suranaree University of Technology

22 กรณีศึกษา การดำเนินงานสหกิจศึกษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเตรียมความพร้อม มีการจัดตั้งหน่วยงานกลางของ มทส. 21

23 1. การเตรียมความพร้อมนักศึกษา
ชั้นปีที่ 1 “ใครอยากเก่ง ต้องฟัง” ชั้นปีที่ 2 ปฐมนิเทศสหกิจศึกษา ชั้นปีที่ 3 มัชฌิมนิเทศสหกิจศึกษา ชันปีที่ 4 เตรียมสหกิจศึกษา/ สหกิจศึกษา ปัจฉิมนิเทศสหกิจศึกษา 22

24 2. การเตรียมความพร้อม ในภาคการศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นศ.ต้องเข้าเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับสหกิจศึกษา ทักษะการเขียนจดหมายสมัครงาน การสมัครงานและการเลือกสถานประกอบการ เทคนิคการสัมภาษณ์งาน ความปลอดภัยในโรงงานและ 5ส การบริหารงานคุณภาพ, ISO 9001 เทคนิคการเขียนรายงานและการนำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ 23

25 3. การจับคู่ระหว่างนักศึกษาและองค์กรผู้ใช้บัณฑิต
ประกาศงาน ตำแหน่งงาน (รายละเอียดลักษณะงาน) ที่บอร์ดของโครงการ (โครงการร่วมกับคณาจารย์ในสาขาวิชาจัดหางานที่มีคุณภาพให้กับ นศ. สาขาวิชาต้องให้การรับรองงาน) รับใบสมัครงาน นัดหมายการสัมภาษณ์และประกาศผลการคัดเลือก 24

26 4. นักศึกษาไปทำงาน มีการติดต่อกันระหว่าง นศ., สาขาวิชา และโครงการฯ ตลอด ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาปัญหาเรื่องงาน การปรับตัว (ทางด้านวิชาการ-สาขาวิชาจะดูแล) 25

27 5. การนิเทศงานสหกิจศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาเดินทางนิเทศงานนักศึกษาทุกคนในระหว่างการปฏิบัติงาน อย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อ - ช่วยเหลือนักศึกษาทั้งในด้านวิชาการ และการปรับตัวสู่สังคมทำงาน - สร้างความรู้ ความเข้าใจในระบบสหกิจศึกษาให้สถานประกอบการ - แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับสถานประกอบการ - แสวงหาความร่วมมือทางวิชาการ 26

28 6. กิจกรรมภายหลังการปฏิบัติงาน
นศ. เข้ารับการสัมภาษณ์โดยคณาจารย์ในสาขาวิชา สัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างนศ.ที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาของสาขาวิชา จัดนิทรรศการแสดงผลการปฏิบัติงาน (Poster Session) ส่งรายงานวิชาการ 27

29 7. การประเมินผล 28 นศ.เข้าร่วมกิจกรรมสหกิจศึกษาครบถ้วน
ผลการประเมินจากพนักงานที่ปรึกษา การสัมภาษณ์หลังการปฏิบัติงาน การสัมมนา ผลประเมินจากอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษาประจำสาขาวิชาขณะนิเทศ ผลการประเมินจากรายงานวิชาการ ผลการประเมิน ผ่าน (S) หรือ ไม่ผ่าน (U) 28

30


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา ดร.กัณทิมา ศิริจีระชัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google