ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSom kid Ratanarak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ประสบการณ์และข้อเสนอแนะ แนวทางการเฝ้าระวังโรคและภัย สุขภาพด้านต่างๆ ของแรงงานข้ามชาติ วันที่ 13 มีนาคม 2557 การประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค แห่งชาติประจำปี 2557
2
โครงการฟ้ามิตร PHAMIT-Prevention on HIV/AIDS Among Migrant Worker in Thailand เป็นโครงการด้านการส่งเสริมการ ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ใน กลุ่มแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ที่ ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนโลกเพื่อ ต่อสู้กับเอดส์ วัณโรค และมาลาเรีย ดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2546 จะสิ้นสุด โครงการ 30 กันยายน 2557 พื้นที่ 36 จังหวัดทั่วประเทศ มุ่งเน้นทำงานกับแรงงานข้ามชาติ 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว และกัมพูชา ทั้งที่ จดทะเบียนและไม่จดทะเบียน 5 อาชีพคือ ประมง ต่อเนื่องประมง ก่อสร้าง โรงงาน และแรงงานในสวน เกษตร ( เชิงธุรกิจ )
3
แรงงานข้ามชาติ ประเทศไทยมีความต้องการ แรงงานข้ามชาติมาทำงานใน อาชีพที่คนไทยไม่ทำ และในงาน 3 D คือ งานสกปรก (Dirty) งาน อันตราย (Dangerous) งานยก ลำบาก (Difficult) แรงงานข้ามชาติมีส่วนทำให้ GDP ของประเทศไทยเติบโตไม่น้อยกว่า 3% จ่ายภาษีทางอ้อมผ่านการซื้อ สินค้า บริการต่างๆ
4
หลักการพื้นฐาน สิทธิสุขภาพ เป็นสิทธิมนุษยชนขั้น พื้นฐาน เคารพในศักดิ์ความเป็นมนุษย์ ไม่เลือกปฏิบัติ มาตรฐานเดียวกับ คนไทย มีส่วนร่วม
5
ฟ้ามิตรทำอะไร ให้ข้อมูล ความรู้ Outreach ทำงาน ร่วมกับ พสต. Drop in Center บริการถุงยางอนามัย ส่งต่อ เยี่ยมบ้าน ส่งกลับ
6
ปัญหาสำคัญ รัฐบาลไม่มีนโยบายที่ชัดเจนระยะยาวในการจัดการ ปัญหาแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม กำหนดให้การ บริหารจัดการแรงงานข้ามชาติเป็นเรื่องความมั่นคง ยังไม่มีการอนุญาตให้จ้างแรงงานข้ามชาติให้ทำ หน้าที่เป็นพนักงานสาธารณสุขต่างด้าว ( พสต.) การเข้าถึงระบบประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติยัง มีน้อย เหตุผลสำคัญคือ ไม่เห็นความสำคัญของการ ซื้อบัตรประกันสุขภาพ ราคาแพงเกินไป บริการไม่ ประทับใจ เป็นต้น รวมทั้งยังไม่มีการจัดบริการตาม นโยบายที่ประกาศ ( ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2556 กำหนดราคาค่าประกัน สุขภาพใหม่จาก 1,900 บาท เป็น 2,200 บาท และ ขยายสิทธิประโยชน์ครอบคลุมการรักษาด้วยยา ต้านไวรัสเอชไอวี แต่ในความเป็นจริงไม่เกิด )
7
ข้อเสนอแนะ ใช้หลักการสิทธิมนุษยชนในการบริหารจัดการ ปัญหาแรงงานข้ามชาติ รัฐบาลต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในการดูแล สุขภาพแรงงานข้ามชาติทุกคนที่อยู่บนผืน แผ่นดินไทย มีระบบบริการรองรับ ทบทวนระบบการบริหารจัดการกองทุนประกัน สุขภาพแรงงานข้ามชาติ และทำให้เป็น มาตรฐานเดียวกับคนไทย อนุญาตให้จัดจ้าง พสต. อย่างถูกต้องตาม กฎหมาย เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพ ของแรงงานข้ามชาติ พัฒนาระบบบริการ สุขภาพที่เป็นมิตร และให้แรงงานข้ามชาติมี ส่วนร่วมในการให้บริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.