งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต.
การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. อบต. ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เล็ก กลาง 6 ล้าน ใหญ่ 20 ล้าน / สำนักงานปลัด อบต. / กองหรือส่วนการคลัง / กองช่างหรือส่วนโยธา - กองสวัสดิการสังคม - กองส่งเสริมการเกษตร - กองการศึกษาฯ - กองสาธารณสุขฯ - กองนิติการ - กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - กองเทศกิจ - กองผังเมือง - กองกิจการพาณิชย์ - กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (รวม 10 กอง) เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการที่กำหนดตามความเหมาะสม - กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร กองหรือส่วนการศึกษาฯ - กองหรือส่วนสาธารณสุขฯ

2 กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้
ก. กลาง กำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7 ขึ้นไป) 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ขึ้นไป) กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้ 1. อบจ. กำหนดสายงานข้าราชการ อบจ สายงาน 2. เทศบาล กำหนดสายงานพนักงานเทศบาล สายงาน 3. อบต. กำหนดสายงานพนักงานส่วนตำบล สายงาน

3 การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหารใน อบต.
ขนาด อบต. ระดับตำแหน่ง ใหญ่ กลาง เล็ก ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 8 หรือ 7 7 หรือ 6 6 รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 8 หรือ 7 (กำหนดระดับ 8 ได้ต่อเมื่อมีการกำหนดส่วนราชการระดับกองเป็นระดับ 8) ไม่มี หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือส่วน หรือเทียบเท่า ปลัดระดับ 8 : รายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป มีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8


ดาวน์โหลด ppt การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google