ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNeung Kantawong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
2
สรุปบทเรียน การผลักดันเพศศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษา
3
บทเรียนที่สำคัญ การผลักดันนโยบายการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาและเอดส์ในสถานศึกษา : มีความต่อเนื่องของการสื่อสารจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ผ่านเวบไซต์ คอลัมน์ของผู้บริหารระดับสูง แต่ยังไม่ “แรง+ ชัด” พอที่จะทำให้เกิดการปฏิบัติได้เหมือนกันทุกพื้นที่ การพัฒนากระบวนการทำงานเพศศึกษาอย่างเป็นระบบ : มีการออกแบบหลักสูตร+แผนการเรียนรู้ คู่มือการจัดกิจกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาเครือข่ายผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษาทุกระดับประถม มัธยมศึกษา อาชีวะศึกษา การศึกษานอกโรงเรียน และอุดมศึกษา และศูนย์ฝึกอบรมเยาวชน ๒ แห่ง แต่ครูยังเลือกสอนตามที่ตัวเองสะดวกใจและไม่ถนัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง
4
ของการทำงานเพศศึกษาในจังหวัดนำร่อง
ภาพความสำเร็จ ของการทำงานเพศศึกษาในจังหวัดนำร่อง จากบทเรียนการทำงานโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ
5
ภาพความสำเร็จของจังหวัดนำร่องที่มีการดำเนินงานเพศศึกษาเพื่อเยาวชน
มีหน่วยงานชัดเจนเป็นเจ้าภาพในการผลักดันงาน “เพศศึกษาในสถานศึกษา” อย่างต่อเนื่องทั้งในส่วนกลางและในแต่ละพื้นที่ มีภาคี/เครือข่ายที่ทำงานทำงานเพศศึกษาในสถานศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณ/ทรัพยากรจากท้องถิ่นสนับสนุนงานเพศศึกษาในสถานศึกษา MT/ครู ที่ร่วมงานโครงการก้าวย่างฯ ยังคงทำงานเรื่องเพศศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีแหล่งประโยชน์/ผู้ให้บริการ ที่เยาวชน/โรงเรียน/ครู สามารถแสวงหาความช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาสุขภาวะทางเพศของเยาวชน และเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างน้อย ๘ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (๑๖ ชั่วโมง/ปีการศึกษา) ทุกระดับชั้น โดยครูอย่างน้อย ๓-๑๐ คนสามารถจัดการเรียนรู้เพศศึกษาได้ สถานศึกษามีการส่งเสริมการรวมกลุ่มเยาวชนและการจัดกิจกรรมของเยาวชน เพื่อเผยแพร่ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษานอกห้องเรียนที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดปี มีแกนนำ/กลุ่มเยาวชนทำงานเพื่อพัฒนาเพศศึกษาสู่เยาวชน/ชุมชนในท้องถิ่น มีการสร้างเวที/เปิดโอกาส/สนับสนุนทรัพยากรเพื่อพัฒนาให้เกิดเยาวชนนักกิจกรรมที่มีความตั้งใจในการทำงานพัฒนาเยาวชนและชุมชน
6
โครงการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานประกอบกิจการ
- ASO THAILAND AIDS-response Standard Organization 5 ปี โครงการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานประกอบกิจการ
7
Lesson Learned 1. การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง นั้นสำคัญยิ่ง
มี 2 กรม ร่วมกันรับรองมาตรฐาน ASO มี MOU ระหว่าง 2 กรม กับ TBCA มีประกาศกระทรวงแรงงาน อาจมีแนวปฏิบัติแห่งชาติ มีกรรมการระดับกระทรวง กรม กอง ช่วยผลักดันนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม มี Focal point ของภาคี มีความสำคัญอย่างยิ่ง
8
Lesson Learned ASO เป็นเครื่องมือที่ช่วยแก้ปัญหาเอดส์ได้
มีเครือข่าย NGO ที่เข้มแข็ง มีผู้ตรวจประเมินทุกจังหวั ASO ถูกบรรจุเป็น KPI ของกรมสวัสดิ์ฯ เข้าสู่แผนงานปกติของทุกจังหวัดแล้ว กลุ่มเป้าหมายชอบ (ใบ Cert. มีความจำเป็นต่อธุรกิจปัจจุบัน)
9
แผนยุทธศาสตร์บูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ. 2550 -2554
พัฒนานโยบายและดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จำนวนสถานประกอบกิจการมีมาตรฐานฯ ASO Thailand
10
Sharing Knowledge & Lesson Learned
Policy Code + ASO Sharing Knowledge & Lesson Learned Partnership
11
กรมสวัสดิ์ฯ กรม คร. สสจ. สสค. อปท. สปก. ทุนอื่นๆ รัฐบาลกลาง ภาคธุรกิจ
Think globally กรมสวัสดิ์ฯ กรม คร. Act locally สสค. สสจ. อปท. GF บทเรียนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในสถานประกอบกิจการของกรมฯ ที่ผ่านมา กล่าวได้ว่า การทำงานเป็นเครือข่ายกับองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้องในทุกระดับนั้นเป็นปัจจัยความสำเร็จการดำเนินงาน ซึ่งรูปแบบการดำเนินงานของกรมฯ จะประสานความร่วมมือและการสนับสนุนจากองค์กรต่างประเทศ เช่น ภาคีต่างๆ ได้แก่ ILO, UNAIDS มูลนิธิกองทุนโลก และมีกลไกการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด เช่น กรมควบคุมโรค สมอ.และองค์กรพัฒนาเอกชนได้แก่ สมาคม TBCA และเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนอีก 34 องค์กร รวมทั้งองค์กรนายจ้างได้แก่ สภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย (ECOT) และสุดท้ายคือการทำงานกับสถานประกอบกิจการ ซึ่งทั้งหมดจะเป็นฟันเฟืองขับเคลื่อนไปพร้อมๆกับกระแสสากล ซึ่งก็คือ เราต้องมีมุมมองที่เป็นสากล คือ Think Globally และลงมือ ปฎิบัติอย่างจริงจัง คือ Act locally แปลเป็นไทยว่า ตาดูดาว เท้าติดดิน -จบ- สปก. ทุนอื่นๆ NGO รัฐบาลกลาง ภาคธุรกิจ
12
โครงการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ ดำเนินการโดย มูลนิธิดวงประทีป
โครงการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ ดำเนินการโดย มูลนิธิดวงประทีป กองทุนโลก สนับสนุนโดย ล็อค 6 ถนนอาจณรงค์ คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 กองทุนโลก
13
1. การเข้าถึงพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย
1.1 การสำรวจทุนของชุมชนและต่อยอดจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ 1.2 สร้างความไว้วางใจ 1.3 การสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่
14
2. เทคนิคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย (เยาวชนอายุ 15-24 ปี)
2.1 กิจกรรมขายตรงความรู้เอดส์สู่ชุมชน 2.2 กลุ่มย่อยเยาวชน 2.3 ทำงานร่วมกับกลุ่มแม่วัยทีน 2.4 ทำงานร่วมกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน 2.5 กิจกรรมลานเด็กลานวัฒนธรรม 2.6 กิจกรรมเปิดท้ายขายความรู้เอดส์ 2.7 บ้านพักใจเข้าใจวัยรุ่น 2.8 ดนตรีสัญจรสอนเอดส์ 2.9 สโมสรสัญจร (ละครหุ่น) 2.10 มิสควีน เรนโบว์สกาย 2.11 วิทยุชุมชน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.