ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDitaka Kamwilaisak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Process of transfromation from สอ. To รพสต. Sharing by W. Thanawat M.D.,M.P.A.
2
Objective of sharing. Review process of policy process: formulation implementation and evaluation. Case study of Banmoh hospital,Saraburi.
3
การเชื่อมการทำงานกับชุมชน ด้วยวิธี Outcome mapping Knowledge sharing by นพ. ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน พบ., รปม. ผอ. รพ. บ้านหมอ จ. สระบุรี
4
Outcome mapping การบูรณาการเพื่อเป้าหมายเดียวกัน ประชาชน ◦ พัฒนาบริการให้มีความครบถ้วนสะดวกรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย โรงพยาบาล ◦ ลดความแออัด ◦ การลดความสูญเสียในระบบออกไป และเชื่อม รอยต่อของบริการ รัฐบาล ◦ ต้องการจัดตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ ตำบล
5
ทำไมต้องใช้ om ซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องมากมาย หลักคิดที่ว่า การพัฒนานี้ จะยั่งยืนได้ ต้องเป็นความ ร่วมมือกับทุกฝ่าย
6
8 Steps of OM. 1. Vision 2. Mission 3. Partners 4. Outcome Challenges 5. Progress Marker 6. Strategy 7. Organizational Practices 8. Monitoring and Evaluation.
7
1.Vision: ประชาชนใน เครือข่ายนำร่อง ของ โรงพยาบาล ได้รับการตรวจรักษาที่ได้ มาตรฐาน ในโรคเรื้อรัง และโรคทั่วไป มี ระบบการให้คำปรึกษาที่สะดวก และ ทันสมัย ระบบการส่งต่อทั้งไปและกลับ ที่ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับโรงพยาบาล และ เป็นหน่วยบริการที่เป็นของประชาชนเอง
8
2.Mission 1. ค้นหาความต้องการของผู้มารับบริการ 2. พัฒนาระบบกระบวนการจัดทำ gate keeper ทั้งระบบ 3. สร้างเครือข่ายพัฒนา และความร่วมมืออัน ดีกับทุกภาคส่วน 4. สร้างค่านิยมอันดีในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง และความเป็นเจ้าของการ ให้บริการสุขภาพกับทาง อปท.
9
3.Partners PartnersDirect PartnerStrategic Partner ทีมพัฒนาของ โรงพยาบาล สสอ. เจ้าหน้าที่ สอ. สสจ. องค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น ทีมผู้ป่วยเรื้อรังในเขต ต. ตลาดน้อย ประชาชนทุกคน หน่วยงานอื่น ๆ ใน สังคม เช่น วัด หรือ โรงเรียน
10
4.Outcome challenge PartnersOCs. ทีมพัฒนาของ โรงพยาบาล มีทีมร่วมกันทำงาน เชื่อมความต้องการของ PCT ได้ ทีมงานเวชปฏิบัติชุมชน เป็นแกนนำในการพัฒนา มีส่วมร่วมในการพัฒนา ดุจเป็นเจ้าหน้าที่ที่อยู่ใน gate keeper นั้น เจ้าหน้าที่ สอ. ร่วมพัฒนา และวางระบบในทุกขั้นตอน ร่วมวางกำลังคน แผนการสนับสนุน ปฏิบัติงานในรูปแบบที่วางแผนร่วมกันได้อย่างดี องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีความอยากที่จะทำงานสุขภาพ ด้วยตนเอง สนับสนุนงบประมาณ จัดกระบวนการทางสังคม ทำแผนการพัฒนาโดยมีทุกฝ่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง
11
5.Progress Markers 1. Expect to see: 1. มีการประชุมร่วมกันระหว่าง โรงพยาบาล สสอ. สอ. และ อปท. 2. มีการเชื่อมข้อมูลจาก PCT ลงสู่ทีมวางแผน 3. ประชาคม และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้ คำแนะนำ 2. Like to see: 1. อปท. วางแผนกลยุทธ์ และ จัดทำแผนการ พัฒนาร่วมกัน 2. อปท. ร่วมสนับสนุนงบประมาณ 3. Love to see: 1. อปท. อื่น ๆ อยากพัฒนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง เช่นเดียวกับ ที่นำร่อง 2. ประชาชนอยากที่จะมีส่วนร่วมในการจัดการ สุขภาพของตนเอง
12
6.Strategy Key persons สำคัญ คือ ประชาชนต้อง อยากที่จะได้บริการนี้ และความต้องการที่ อยากได้ ต้องเป็นไปในมาตรฐาน และ บริการที่สามารถให้ได้ แล้วการพัฒนาจะ ยั่งยืน เพราะสิ่งเดียวที่ไม่เปลี่ยนในชุมชน คือ ประชาชน แต่ทั้งโรงพยาบาล ( นโยบาย และการสนับสนุน ) และ อปท. ก็ต่างมีการ เปลี่ยนแปลง แต่การที่จะสื่อกับประชาชนได้ อปท. เป็น กลไกสำคัญที่สุดฉะนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การให้ อปท. มาเป็น Direct person ให้ได้ การขาย idea ที่ดี การประสานงานใน รูปแบบ informal มีความสำคัญมากที่สุด
13
7. Organizational Practices การจัดสรรทรัพยากรในภาพของ คปสอ. การพัฒนาทีมงานทั้งภาคเจ้าหน้าที่ ประชาชน และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานอื่น ๆ การพัฒนา การสื่อสารต่อประชาชน และทีม ผู้นำชุมชน
14
8. Monitoring and Evaluation ปัจจุบัน ◦ ความร่วมมือของอปท. มาอยู่ในเกณฑ์สูงมาก ทั้งการสนับสนุนงบประมาณ และการพัฒนา กำลังคน ◦ กำลังอยู่ในช่วงเป็นพี่เลี้ยงการทำแผนร่วมกัน ของทั้ง รพ. อปท. สอ. โดย อปท. เป็นเจ้าภาพ ◦ ประชาชนมีการตอบรับที่ดีมาก และร่วมแสดง ความคิดเห็นต่อเนื่อง ◦ ทำประชาคม ได้รับข้อเสนอแนะ และเข้า ใจความคาดหวังมากขึ้น ◦ ผลที่เหนือความคาดหวัง : อปท. อื่น ๆ ขอเข้า ร่วมการทำงานกับทางโรงพยาบาลด้วยตนเอง
15
Sharing กับที่อื่น ๆ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง บริการต่อไป KM is the important process of this step. And now we are sharing.
16
Thanks for your attentions.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.