งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 1

2 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ เมื่อเศรษฐกิจเราประสบวิกฤตเศรษฐกิจ นโยบายเศรษฐกิจที่มีความสำคัญมากในขณะนั้นคือ การเพิ่มงบประมาณรายจ่ายกลางปี รัฐบาลชุดนี้เข้ามาพบว่า สิ่งแรกต้องทำคือ มุ่งช่วยเหลือคนกลุ่มที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดและลำบากที่สุดก่อน จึงได้มีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น (SP1) วงเงิน แสนล้านบาท ซึ่งจำแนกเป็น 4 โครงการใหญ่ ได้แก่ 1. โครงการช่วยเหลือเร่งด่วนโดยการเติมเงินให้ประชาชน ประกอบด้วย โครงการเช็คช่วยชาติ 2 พันบาท (เบิกจ่ายแล้ว 95%) เบี้ยคนชรา 500 บาทต่อเดือน (เบิกจ่ายแล้ว 100%) เบี้ย อสม. 600 บาทต่อเดือน (เบิกจ่ายแล้ว 100%) 2. โครงการลดภาระให้ประชาชน ประกอบด้วย 5 มาตรการ 6 เดือน (เบิกจ่ายแล้ว 97%) เรียนฟรี 15 ปี (เบิกจ่ายแล้ว 89%) โครงการธงฟ้า (เบิกจ่ายได้แล้ว 50%) 3 โครงการสร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชน ชุมชน และธุรกิจ เช่น โครงการช่วยเหลือ SMEs (เบิกจ่ายแล้ว 74%) 4. โครงการเร่งลงทุนในโครงการที่เบิกจ่ายเร็ว เช่น โครงการก่อสร้างภายในหมู่บ้าน (เบิกจ่ายแล้ว 88%) พบว่าขณะนี้เบิกจ่ายไปแล้วกว่า 89,900 ล้านบาท หรือคิดเป็น 77% และคาดว่าจะทยอยเบิกจนหมดภายในปีนี้ มิติด้านการพัฒนาองค์กร

3 จำนวนภาษีศุลกากรที่สามารถจัดเก็บได้
มิติด้านประสิทธิผล จำนวนภาษีศุลกากรที่สามารถจัดเก็บได้ ระดับความสำเร็จของการสร้างความตระหนักรับรู้ ให้กับประชาชน เพื่อให้มีความพร้อมในการเผชิญ สถานการณ์การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ ระดับความสำเร็จของโครงการนำร่องระบบผ่านพิธีการ ศุลกากรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับของเร่งด่วนขาเข้า ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับ กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า ร้อยละความสำเร็จในการวินิจฉัยราคาศุลกากรล่วงหน้า ภายใน 30 วัน ตามเงื่อนไขที่กำหนด จำนวนรายของการจับกุมผู้กระทำความผิดทางศุลกากร จำนวนใบขนสินค้าที่ให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากร

4 จำนวนภาษีศุลกากรที่สามารถจัดเก็บได้
1 72,324 ล้านบาท 2 73,062 ล้านบาท 3 73,800 ล้านบาท 4 74,538 ล้านบาท 5 75,276 ล้านบาท น้ำหนัก : ร้อยละ 3 หน่วยงานจัดเก็บภาษี สสป. และ สตอ.

5 ระดับความสำเร็จของการสร้างความตระหนักรับรู้ให้กับประชาชนเพื่อให้มี
ความพร้อมในการเผชิญสถานการณ์การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาติ 1 จัดตั้งคณะทำงานที่มาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 จัดทำแผนงานรองรับตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย และดำเนินการเพื่อแปลงแผนงานไปสู่การปฏิบัติ 3 ร้อยละ 50 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการอบรม 4 ร้อยละ 75 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการอบรม 5 ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการอบรม น้ำหนัก : ร้อยละ 3 สสป. สสภ. และ สผภ.

6 ระดับความสำเร็จของโครงการนำร่องระบบผ่านพิธีการศุลกากร
อิเล็กทรอนิกส์สำหรับของเร่งด่วนขาเข้า 1 ศึกษาวิเคราะห์ และกำหนดรูปแบบระบบงาน 2 ออกแบบและพัฒนาระบบงาน 3 ทดสอบระบบ และอบรมระบบงานให้ผู้ใช้งาน 4 ติดตั้งระบบ และเริ่มใช้งานจริง รวมทั้ง จัดทำรายงานสรุปผล และนำเสนอผู้บริหารทราบ 5 มีผู้ใช้ระบบงาน (ตรวจปล่อยสำเร็จอย่างน้อย 1 ราย) น้ำหนัก : ร้อยละ 3 สสภ. และ สทส.

7 ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูล เกี่ยวกับกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
1 ศึกษา รวบรวม และสรุปสาระสำคัญของความรู้ฯ 2 ออกแบบทางด้านสารสนเทศ และจัดทำฐานข้อมูล 3 เผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่และผู้ประกอบการ 4 สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล 5 จัดทำรายงานสรุปผลสำรวจความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะ นำเสนอผู้บริหารทราบ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 สพก. และ สทส.

8 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95 ร้อยละ 100
ร้อยละความสำเร็จในการวินิจฉัยราคาศุลกากร ล่วงหน้าภายใน 30 วัน ตามเงื่อนไขที่กำหนด 1 ร้อยละ 80 2 ร้อยละ 85 3 ร้อยละ 90 4 ร้อยละ 95 5 ร้อยละ 100 น้ำหนัก : ร้อยละ 3 สมพ.

9 จำนวนรายของการจับกุมผู้กระทำความผิดทางศุลกากร
สทก. 990 1,237 1,175 1,113 1,051 สทบ. 418 522 496 470 444 สสภ. 533 666 633 599 566 สผภ. 190 238 227 214 202 สกท. 337 421 400 379 358 สสล. 282 352 334 317 299 น้ำหนัก : ร้อยละ 3

10 จำนวนรายของการจับกุมผู้กระทำความผิดทางศุลกากร
ศภ.1 383 479 455 431 407 ศภ.2 337 421 400 379 358 ศภ.3 296 370 352 333 316 ศภ.4 1,088 1,360 1,292 1,224 1,156 สสป. 1,305 1,633 1,551 1,470 1,388 สตอ. 217 271 257 244 230 น้ำหนัก : ร้อยละ 3

11 จำนวนใบขนสินค้าที่ให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากร
1 1,816,352 ฉบับ 2 1,929,874 ฉบับ 3 2,043,396 ฉบับ 4 2,156,918 ฉบับ 5 2,270,440 ฉบับ น้ำหนัก : ร้อยละ 2 หน่วยงานจัดเก็บภาษี (ยกเว้น สผภ.) และ สสอ.

12 ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ
มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้กำหนดนโยบาย ระดับความสำเร็จในการดำเนินการ เกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจนได้ข้อยุติ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

13 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
น้ำหนัก : ร้อยละ 4 ความพึงพอใจของผู้รับบริการใน การให้บริการผ่านพิธีการศุลกากรและ ตรวจปล่อยสินค้าขาเข้า-ขาออก ณ ด่านศุลกากร ศภ. 3 ความพึงพอใจของผู้รับบริการใน การให้บริการด้านพิธีการสิทธิประโยชน์ เขตปลอดอากร ณ สกท. ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85

14 ร้อยละของระดับ ความพึงพอใจ ของผู้กำหนดนโยบาย
น้ำหนัก : ร้อยละ 3 คำถาม นาย ก. ซึ่งเป็นข้าราชการประจำ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการของ ปตท. หรือเป็นกรรมการในบริษัทในเครือของ ปตท. หรือบริษัทที่ ปตท. เข้าไปร่วมทุนในฐานะกรรมการผู้แทนกระทรวงการคลังหรือโดยการมอบหมายจาก ปตท. หรือหน่วยงานของรัฐอื่นใด นาย ก. จะสามารถเป็นกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทได้หรือไม่ คำตอบ การที่ข้าราชการประจำได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการของรัฐวิสาหกิจ หรือเป็นกรรมการในบริษัทในเครือของรัฐวิสาหกิจหรือบริษัทที่รัฐวิสาหกิจเข้าไปร่วมทุน ในฐานะกรรมการผู้แทนกระทรวงการคลังหรือโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐอื่นใดนั้น  เมื่อเป็นการปฏิบัติหน้าที่โดยมีกฎหมายเฉพาะกำหนดหรือได้รับมอบหมายจากทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องแล้ว กรณีย่อมไม่อาจถือว่า  ข้าราชการผู้นั้นมีส่วนได้เสียในนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานหรือผู้ร่วมทุนหรือมีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของรัฐวิสาหกิจที่จะเปลี่ยนทุนเป็นหุ้นอันเป็นลักษณะต้องห้ามสำหรับการเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทฯ  ดังนั้น การที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทฯ ที่เป็นข้าราชการประจำได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการของ ปตท. หรือเป็นกรรมการในบริษัทในเครือของ ปตท. หรือบริษัทที่ ปตท. เข้าไปร่วมทุน ในฐานะกรรมการผู้แทนกระทรวงการคลังหรือโดยการมอบหมายจาก ปตท. หรือหน่วยงานของรัฐอื่นใด  ย่อมไม่ถือว่าเป็นการมีส่วนได้เสียในนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้รับสัมปทาน ผู้ร่วมทุน หรือมีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของรัฐวิสาหกิจที่จะเปลี่ยนทุนเป็นหุ้น อันเป็นลักษณะต้องห้ามสำหรับการเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการจัดตั้งบริษัทฯ ตามมาตรา 17 (5) ประกอบกับมาตรา 9 (4) และไม่เข้าข่ายข้อห้ามตามมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจฯ ทุกหน่วยงาน

15 เรื่องร้องเรียน การนับจำนวนเรื่อง ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับ เรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ น้ำหนัก : ร้อยละ 4 เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่ได้รับการประสานงานจากศูนย์บริการ ประชาชน สำนักงานปลัดนายกรัฐมนตรีผ่านช่องทางการร้องเรียนต่างๆ มา เพื่อทราบหรือพิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่ การนับจำนวนเรื่อง นับจำนวนเรื่องร้องเรียนในอดีตที่ค้างอยู่ (ปีงบประมาณ พ.ศ ) และปีงบประมาณ พ.ศ โดยดำเนินการให้ได้ข้อยุติใน พ.ย. 2553 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 74 77 80 83 86

16 การดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนให้ได้ข้อยุติ
เรื่องที่ดำเนินการแล้ว ได้ตามประสงค์ของผู้ร้องทั้งหมด และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว ได้ตามประสงค์ของผู้ร้องบางส่วน หรือได้บรรเทา เยียวยาปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร้อง ตามความเหมาะสม และได้แจ้งผู้ร้องทราบ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว แต่ไม่ได้ตามประสงค์ของผู้ร้อง (เช่น พ้นวิสัยดำเนินการแล้ว) และได้ชี้แจงทำความเข้าใจ กับผู้ร้อง เรื่องที่ส่งต่อให้หน่วยงานอื่นเพื่อทราบ หรือดำเนินการ ตามอำนาจหน้าที่แล้ว และได้แจ้งผู้ร้องทราบหน่วยงาน ที่รับดูแลเรื่องต่อ ทุกหน่วยงาน

17 การดำเนินการเกี่ยวกับข้อร้องเรียนให้ได้ข้อยุติ
เรื่องร้องเรียนที่ระงับการพิจารณา หรือรวมเรื่อง เช่น บัตรสนเท่ห์ เรื่องที่อยู่ในกระบวนการทางศาล เรื่องร้องทุกข์กล่าวโทษ แต่ไม่มีหลักฐาน และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบตามควรแก่กรณี เรื่องเสนอข้อคิดเห็นที่พ้นวิสัยดำเนินการหรือเป็นกรณีที่ หน่วยงานได้ดำเนินการอยู่แล้ว กรณีที่เป็นการเสนอข้อคิดเห็นที่มีผลต่อส่วนรวม ให้หน่วยงาน ประมวลข้อมูลและเสนอข้อคิดเห็นเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร ทุกหน่วยงาน

18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ป้องกันและปราบปราม การทุจริต
น้ำหนัก : ร้อยละ 4 คำถาม การจัดตั้งบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) โดยวิธีการเปลี่ยนทุนเป็นหุ้นตามพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 สิทธิและหน้าที่ของ ปตท. ที่มีอยู่เดิมตามประมวลรัษฎากร กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และกฎหมายอื่นจะโอนมาเป็นของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) หรือไม่ คำตอบ ตามมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ บัญญัติไว้ว่า “ในวันที่จดทะเบียนบริษัทตามมาตรา 22 ให้บรรดากิจการ สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ โอนไปเป็นของบริษัท หรือเป็นของกระทรวงการคลังแล้วแต่กรณี” ในเมื่อพระราชกฤษฎีกากำหนดเงื่อนเวลายุบเลิกกฎหมายว่าด้วยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ ได้กำหนดให้กฎหมายว่าด้วยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยเป็นอันยกเลิกไปตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม บรรดากิจการ สิทธิ หนี้ ความรับผิด และสินทรัพย์ของ ปตท. จึงย่อมโอนมาเป็นของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ โดยผลของบทบัญญัติดังกล่าวในวันที่ 1 ตุลาคม 2544  บรรดาสิทธิและหน้าที่ของ ปตท. ที่มีอยู่อย่างไร และไม่ว่าจะเกิดขึ้นตามกฎหมายใดๆ ทั้งหมดก็จะโอนมาเป็นของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) อย่างเต็มรูปทั้งหมดเสมือนเป็นองค์กรเดิมที่จะดำเนินกิจการต่างๆ ต่อไป สิทธิและหน้าที่ของ ปตท. ที่มีอยู่ตามประมวลรัษฎากร กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และกฎหมายอื่นใด ย่อมโอนมาเป็นของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในวันที่ 1 ตุลาคม 2544 ตามมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 สบท.

19 รายจ่ายลงทุน/ รายจ่ายภาพรวม/ ระดับความ สำเร็จของ การจัดทำ
มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ระดับความ สำเร็จของ การบรรลุ เป้าหมาย ตามแผน ส่งเสริม ธรรมาภิบาล (Roadmap) ร้อยละของ อัตราการ เบิกจ่ายเงิน งบประมาณ รายจ่ายลงทุน/ รายจ่ายภาพรวม/ ระดับความ สำเร็จของ การจัดทำ ต้นทุนต่อ หน่วย ผลผลิต ระดับความ สำเร็จของการดำเนินการ ตามมาตรการ ประหยัด พลังงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 3 น้ำหนัก : ร้อยละ 2 น้ำหนัก : ร้อยละ 1 กพบ. สสป. และ สตอ. ทุกหน่วยงาน

20 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/
รายจ่ายภาพรวม ระดับ 1 คะแนน ร้อยละ 69 ระดับ 2 คะแนน ร้อยละ 72 ระดับ 3 คะแนน ร้อยละ 75 ระดับ 4 คะแนน ร้อยละ 78 ระดับ 5 คะแนน ร้อยละ 81 รายจ่ายลงทุน งบประมาณรายจ่ายลงทุน ล้านบาท ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ล้านบาท National Single Window ล้านบาท ด่านพรมแดนบ้านประกอบ ล้านบาท ที่พัก ด่านศุลกากรอรัญฯ ล้านบาท ที่ทำการด่านศุลกากรแม่กลอง ล้านบาท ด่านศุลกากรบูเก๊ะตา ล้านบาท ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า ล้านบาท สำนักงาน 9 ชั้น ปรับปรุงยกระดับพื้นที่ ล้านบาท ผิวจราจรและระบบระบายน้ำ ระดับ 1 คะแนน ร้อยละ 92 ระดับ 2 คะแนน ร้อยละ 93 ระดับ 3 คะแนน ร้อยละ 94 ระดับ 4 คะแนน ร้อยละ 95 ระดับ 5 คะแนน ร้อยละ 96 รายจ่ายภาพรวม งบประมาณภาพรวม 2, ล้านบาท งบบุคลากร , ล้านบาท งบดำเนินการ ล้านบาท งบเงินอุดหนุน ล้านบาท งบลงทุน ล้านบาท ทุกหน่วยงาน

21 งบประมาณภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
1, 1, 89.34% งบบุคลากร 79.71% งบดำเนินงาน 1.2592 1.0990 87.28% งบเงินอุดหนุน 6.90% งบลงทุน เบิกจ่ายรวมร้อยละ

22 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ปีงบประมาณ 2552 และรายงานผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย 2 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่าง ปีงบประมาณ 2551 และ 2552 พร้อมทั้งวิเคราะห์สาเหตุ การเปลี่ยนแปลง และจัดทำรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ 3 ระบุต้นทุนทางตรงเข้าสู่กิจกรรมย่อยและศูนย์ต้นทุนในระบบ GFMIS และส่งมอบหน่วยงานในองค์กรร่วมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมสำหรับข้อมูลค่าใช้จ่ายปีงบประมาณ 2553 4 จัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพ ปีงบประมาณ 2553 โดยพิจารณาจากรายงานวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิต พร้อมทั้งกำหนดเป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพให้ชัดเจน และแผนต้องได้รับความเห็นชอบ 5 ดำเนินการตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพได้แล้วเสร็จ และจัดทำ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลสำเร็จ และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร น้ำหนัก : ร้อยละ 3 ทุกหน่วยงาน

23 ระดับความ สำเร็จของ การควบคุม การตรวจสอบ การดำเนินการ ภายใน
มิติด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ระดับความ สำเร็จของ การควบคุม ภายใน การตรวจสอบ การดำเนินการ ตามแผนพัฒนา กฎหมายของ ส่วนราชการ น้ำหนัก : ร้อยละ 2

24 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน
1 หน่วยรับตรวจมีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนเกี่ยวกับการ ดำเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน พร้อมระบุบทบาท ความรับผิดชอบในการจัดวาง และติดตามการควบคุมภายใน 2 มีกลไกการดำเนินการตามแผนปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 3 หน่วยรับตรวจมีรายงานผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุม ภายในครบทั้ง 5 องค์ประกอบ (แบบ ปอ. 2) ซึ่งมาจากการประมวลผลการประเมินของระดับส่วนงานย่อย (แบบ ปอ. 1) 4 หน่วยรับตรวจมีการประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อจัดทำ รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปอ. 3) ซึ่งมาจากการประมวลผลการประเมินของระดับส่วนงานย่อย (แบบ ปย.2) 5 พิจารณาผลการประเมินที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 และ 4 เพื่อจัดทำ หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปอ. 1) และต้องได้รับการประเมินจากผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.) น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ทุกหน่วยงาน

25 แบบ ปย.2 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการควบคุม การควบคุมที่มีอยู่ การประเมิน ผลการควบคุม ความเสี่ยงยังมีอยู่ การปรับปรุงการควบคุม กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

26 แบบ ปอ.3 กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้านของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการควบคุม ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ งวด/เวลาที่พบจุดอ่อน การปรับปรุงการควบคุม กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ

27 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน
1 จัดทำกระดาษทำการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการ ตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดในเรื่องปัจจัยและเกณฑ์ความเสี่ยง ที่นำมาใช้การวิเคราะห์ความเสี่ยง และการจัดลำดับความเสี่ยง 2/3 จัดทำแผนปฏิบัติงาน ตามแผนการตรวจสอบประจำปี โดยมี รายละเอียดในเรื่องวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน ขอบเขต การปฏิบัติงาน การจัดสรรทรัพยากร และแนวทางการปฎิบัติงาน 4 จัดทำรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วนตามที่กำหนดในแผน การตรวจสอบ และเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ และสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามข้อเสนอแนะ 5 รายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยวิเคราะห์ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการแสดง ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 กตน., หน่วยงานจัดเก็บภาษี, สบก., สบท., สสป.

28 มิติด้านการพัฒนาองค์การ
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน ระดับความสำเร็จ ของร้อยละเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักในการ บรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของ ผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ การจัดทำแผนพัฒนา องค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 น้ำหนัก : ร้อยละ 12 น้ำหนัก : ร้อยละ 4 น้ำหนัก : ร้อยละ 4 ทุกหน่วยงาน

29 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน ระดับ 1 ร้อยละ 60 ระดับ 2 ร้อยละ 70 ระดับ 3 ร้อยละ 80 ระดับ 4 ร้อยละ 90 ระดับ 5 ร้อยละ 100 ระดับความสำเร็จ เฉลี่ยถ่วงน้ำหนักใน การบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของ ผลลัพธ์ ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน ในส่วนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ น้ำหนัก : ร้อยละ 8 น้ำหนัก : ร้อยละ 2 น้ำหนัก : ร้อยละ 2

30 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย
ความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ/โครงการ) RM1 RM2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเป้าหมายของโครงการ ตามแผนบริหารความเสี่ยง ร้อยละความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการ/ โครงการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารราชการ RM3

31 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย
ความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (หมวด 7) ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ระดับความสำเร็จของการบูรณาการข้อมูลสถิติภาครัฐ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการ ดำเนินการตามแผนจัดการความรู้อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ RM4 RM5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาขีดสมรรถนะตาม แผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรหรือแผนพัฒนา บุคลากร จำนวนกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุงให้ผลการ ดำเนินการดีขึ้น RM6

32 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ
ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะ สำคัญขององค์กร (15 คำถาม) ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมิน องค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ (2 แผน: หมวด 2 และ 4) น้ำหนัก : ร้อยละ 1 น้ำหนัก : ร้อยละ 2

33 ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กลุ่มภารกิจด้านรายได้
จำนวนภาษีที่ สามารถจัดเก็บ ได้ (ล้านล้านบาท) ระดับความสำเร็จ ในการบูรณาการ บริการข้อมูล ข่าวสารของ กลุ่มภารกิจด้าน รายได้ (e-Tax Portal Service) ระดับความสำเร็จ ในการบูรณาการ งานกลุ่มภารกิจ ด้านรายได้ น้ำหนักร้อยละ 4 น้ำหนักร้อยละ 3

34 Q & A

35 ขอขอบคุณ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google