ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThornthep Khemanich ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance: OG)
บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด
2
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ความหมาย นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี หมายถึง การประกาศเจตนารมณ์ขององค์การที่จะดำเนินการและกำหนดนโยบายตามหลักธรรมา ภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการหรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ 2
3
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ 3
4
กรอบนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ครอบคลุมนโยบาย 4 ด้าน ยึดมั่นในหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ที่พึงมีต่อประเทศชาติ สังคมและสิ่งแวดล้อม มุ่งมั่นให้บริการ ผู้รับบริการอย่าง เท่าเทียมกันและ เป็นธรรม 1. 2. รัฐ สังคมและ สิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริมให้เกิดระบบ คุณธรรม จริยธรรม ในการดำเนินงาน 3. 4. ส่งเสริมความก้าวหน้า ในอาชีพแก่บุคลากร ตามหลักความรู้ ความสามารถ อย่างเป็นธรรม เสมอภาคและชัดเจน องค์การ ผู้ปฏิบัติ 4
5
องค์ประกอบสำคัญในนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
1. นโยบายหลัก 4 ด้าน นโยบายด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม นโยบายด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบายด้านองค์การ นโยบายด้านผู้ปฏิบัติงาน 2. แนวทางปฏิบัติรองรับนโยบายหลักแต่ละด้าน 5 5
6
องค์ประกอบของนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (เพิ่มเติม – เป็นทางเลือก)
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ค่านิยมหลัก (Core Values) โครงสร้างองค์การ (Organization Structure) 3. ข้อมูลองค์การ 4. หลักการและวัตถุประสงค์ หลักการ วัตถุประสงค์* 6 6
7
พัฒนาประเทศให้ทุกเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในอาคาร
องค์ประกอบในการจัดทำนโยบาย การกำกับดูแลองค์การที่ดี เป็นองค์กรหลักในการวาง และจัดทำผังเมืองและ พัฒนาเมือง ด้วยการกำหนด สนับสนุนและกำกับให้งาน ด้านการผังเมือง ด้านอาคาร และด้านช่างมีมาตรฐาน ทางวิชาการที่สามารถ ตอบสนองต่อความต้องการ ของสังคมเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน พัฒนาประเทศให้ทุกเมืองน่าอยู่ และประชาชนมีความปลอดภัยในอาคาร วิสัยทัศน์ พันธกิจ หลัก ธรรมาภิบาลสากล นโยบายการ กำกับดูแล องค์การ ที่ดี ค่านิยมหลัก ขององค์การ 1. การมีส่วนร่วม 2. นิติธรรม 3.ความโปร่งใส 4. การตอบสนอง 5.การมุ่งเน้นฉันทามติ เชื่อมโยง 6.ความเสมอภาค/ความเที่ยงธรรม 1. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ไม่เลือกปฏิบัติ 3. ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ 4. โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5. มุ่งสัมฤทธิ์ผลของงาน 7.ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล 8.ภาระรับผิดชอบ 9. วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ 7
8
ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ค่านิยม การนำองค์การอย่างมีวิสัยทัศน์ ความรับผิดชอบต่อสังคม การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ ความคล่องตัว การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง ด้าน องค์การ ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน 8
9
การจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ
นโยบายหลัก 4 ด้าน มาตรการ/ โครงการ แนวทาง ปฏิบัติ วิสัยทัศน์ ธรรมาภิบาล พันธกิจ 9
10
การวางนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล มาตรการ/ โครงการ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเมินผล แนวทางปฏิบัติ ด้านผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน 10
11
ตัวอย่าง: นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด
นโยบายหลัก 4 ด้าน ด้านรัฐ สังคม และ สิ่งแวดล้อม 2. ด้านผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ด้านองค์การ 4. ด้านผู้ปฏิบัติงาน แนวทางปฏิบัติ ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและผู้ส่วนได้ส่วนเสีย จัดทำหลักเกณฑ์และรูปแบบการให้บริการที่มีมาตรฐาน ฝึกอบรมพนักงานเกี่ยวกับการบริการที่ดี ด้านองค์การ มีการประเมินความเสี่ยงในโครงการลงทุนทุกโครงการ ด้านผู้ปฏิบัติงาน สร้างบรรยากาศการทำงานอย่างมีส่วนร่วม และเปิดโอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็น บริษัทมีเจตจำนงที่จะประกอบธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทจะให้บริการที่มีคุณภาพ มาตรฐานและสุภาพอ่อนน้อม บริษัทตระหนักในคุณค่าทรัพยากรมนุษย์ โดยส่งเสริมบรรยากาศการทำงานแบบมีส่วนร่วม มาตรการ/โครงการ โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีสะอาด โดย โครงการรณรงค์กันทำความดีเพื่อส่งเสริมการทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี การนำไปปฏิบัติและประเมินผล ส่งเสริม ให้พนักงานมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ขออนุมัติและประกาศใช้ การจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยและของเสียจากกรมและร้านอาหาร มาตรการการใช้ไฟฟ้าและน้ำเพื่อลดภาวะโลกร้อน ______________________________________________________________________________________________________ การนำไปปฏิบัติให้เกิดผล สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ทราบทั่วกัน บริษัทมีความมุ่งมั่นทีจะบริหารความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและผลตอบแทน เสริมสร้างความเข้าใจ ติดตามประเมินผล 11 11
12
ตัวอย่าง 1. พัฒนาฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อให้บริการรวดเร็วและถูกต้อง
S Service Mind การมีจิตมุ่งบริการ นโยบายด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบายหลัก - สำนักงานปลัดฯ จะมุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรมการให้บริการที่เป็นเลิศ แนวทางปฏิบัติ 1. พัฒนาฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อให้บริการรวดเร็วและถูกต้อง โครงการ e-customer 12
13
ต่อพนักงาน ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตัวอย่าง Corporate Ethics ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติ ● การนำความรู้สู่สังคม เพื่อเป็นการเตือนสติและแนวทาง แก้ปัญหาสังคม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) นำความรู้สู่สังคม (พระจอมเกล้าพระนครเหนือ) ● มุ่งรับผิดชอบ ดูแล ร่วมมือ แก้ไข และส่งเสริมให้เกิด ความเข้มแข็งของชุมชน และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ● จัดระบบการบริหารทรัพย์สินทางปัญญา ให้เป็นกลไกรอง รับการพิทักษ์คุ้มครองการใช้ประโยชน์และการพัฒนาต่อ ยอดทรัพย์สินทางปัญญาให้เกิดประโยชน์ต่อสถาบันและ ประเทศชาติในระยะยาว (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ● ความรับผิดชอบต่อรัฐและสังคมทั้งในระดับชาติและ ระดับท้องถิ่น (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) องค์การ ต่อผู้รับบริการ ต่อพนักงาน แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติ ● พัฒนาโครงสร้างองค์กรการบริหารงานบุคคลให้แข็งแกร่ง และสอดคล้องกับการพัฒนาระบบการอุดมศึกษา (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ● การบริหารงานโดยบุคลากรมีส่วนร่วม (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เชียงใหม่) ● ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา (จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, เชียงใหม่) ● พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิต ที่มีคุณภาพถึงพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรมให้สอด คล้องกับความต้องการของสังคม และการพัฒนาประเทศ (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) 13 13
14
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย โครงการ 14
15
วัฒนธรรมองค์การ เก่ง + ดี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ค่านิยมหลักขององค์การ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ 15
16
ขั้นตอนการจัดทำ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน
เตรียมการ 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ 7. กระบวนการที่จะนำไปปฏิบัติให้เกิดผล ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน 16 16
17
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้“Acceptable Level”
ภาพรวมการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ค่านิยมหลักขององค์การ ธรรมาภิบาล นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี มาตรการ/ โครงการ นโยบายหลัก วิสัยทัศน์ แนวทาง ปฏิบัติ พันธกิจ กระบวนงาน การวัดผล ปี 2552 วิเคราะห์ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับที่ยอมรับได้“Acceptable Level” หมวด 1-2 SP 7 มีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในเรื่องการกำกับดูแลตนเองที่ดี และนำแผนดังกล่าวมาปฏิบัติ Acceptable Level LD 5 ผู้บริหารส่วนราชการได้ดำเนินการตามนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี(Organizational Governance) โดยการสื่อสาร และแสดงความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้บริหาร ไปยังบุคลากรการเพื่อให้นำไป ใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติ รวมทั้ง จัดทำโครงการรองรับนโยบายในแต่ละด้านอย่างน้อยด้านละ 1 โครงการ PMQA 7 หมวด ระดับการประเมิน แนวทางการดำเนินการ 17
18
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ประโยชน์ของการจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี 1. เพื่อส่งเสริม ธรรมาภิบาลใน การดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ ให้เกิดขึ้นอย่างเป็น รูปธรรม 2. เพื่อเป็นกรอบการ ดำเนินงานตามหลัก ธรรมาภิบาลและ ค่านิยมขององค์การ 3. เพื่อให้การดำเนิน งานของภาครัฐเป็น ที่ศรัทธา มั่นใจและ ไว้วางใจจากประชา ชนและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย รวมทั้งเป็น ที่ยอมรับในระดับ สากล 18
19
ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
โครงการที่สนับสนุนนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของจังหวัดลพบุรี ปี 2552 ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม โครงการคลองสวย น้ำใส จังหวัดลพบุรี โครงการพัฒนาคุณภาพและรักษามาตรฐานการให้บริการประชาชน - จัดสิ่งอำนวยความสะดวก - ดำเนินกิจกรรม 5 ส. ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารราชการจังหวัด (การตรวจสอบการปฏิบัติราชการ และป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ) ด้านองค์การ ด้านผู้ปฏิบัติงาน โครงการพัฒนาสมรรถนะหลักของข้าราชการ 19
20
E-mail : center@tsisconsult.com
ถาม – ตอบ ขอบคุณครับ 20
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.