ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มวนเพชรฆาต (Kissing bug, Assassin bug)
ดร. อุรุญากร จันทร์แสง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กลุ่มงานกีฏวิทยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2
อุบัติการณ์การพบปัญหาเนื่องจากมวนเพชรฆาต
- 21 ม.ค : พบในชุมชนคลองเตย สนง. กรุงเทพมหานคร - 08 มี.ค : พบในชุมชนคลองเตย สนง. กรุงเทพหมานคร - 25 พ.ค 2533 : พบที่ อ.ย่านตาขาว สำนักงานสาธารณสุขตรัง - 10 พ.ย : สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร - 19 ก.ค : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย - 12 ก.ย : โรงพยาบาลตะกั่วป่า จ. พังงา ผู้ถูกกัดทั้งหมด จะเป็นตุ่ม มีอาการเจ็บปวด และมีไข้ ข้อมูลจากฝ่ายพิพิธภัณฑ์แมลงและอนุกรมวิธาน, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
3
ข้อมูลทางอนุกรมวิธาน
มวนเพชรฆาตจัดอยู่ใน Order Hemiptera , Family Reduviidae ลักษณะที่สำคัญของมวนชนิดนี้คือ มีศีรษะแคบยาวส่วนที่อยู่หลังตา คอดคล้ายคอ มีปากแบบเจาะดูด โค้งงอสอดอยู่ ใต้แผ่นแข็งของอกปล้องแรก ส่วนท้องตรงกลางกว้าง กว่าส่วนอื่น และปีกคลุมไม่หมด มวนชนิดนี้มีเกือบ 100 ชนิด เท่าที่ มีรายงานว่าพบในประเทศไทยคือชนิด Triatoma rubrofasciata
4
ชีววิทยา เป็นแมลงที่มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์
(Incomplete Metamorphosis ) 2 สัปดาห์ ชีพจักรรวม 210 วัน 8-10 วัน ตัวอ่อนลอกคราบ 5 ครั้ง ใช้เวลาประมาณ 120 วัน
5
นิเวศวิทยา มวนชนิดนี้มักจะพบได้ตามบ้านหรือสิ่งก่อสร้างสกปรก เช่น
ตามใต้ถุนบ้านที่รกรุงรัง มีขยะและมีหยากไย่ หรือตามใต้ถุนที่ชื้นแฉะเนื่องจากตั้งอยู่ในที่ลุ่มจะเป็นที่อยู่ อาศัยของมวนพวกนี้เป็นอย่างดี
6
ตัวอ่อนมักจะซุกซ่อนอยู่ตามใต้เศษขยะที่รกรุงรัง
ตามบ้านเรือน หรืออาศัยอยู่ตามรังนก รังหนูหรือสัตว์เลือดอุ่น โดยทั่วไปตัวมวนมักจะขึ้นมากัดคนตามร่องกระดาน เพื่อดูดกินเลือดคนเป็นอาหาร
7
ความร้ายแรงของมวนเพชรฆาต
1. การทำให้ผิวหนังอักเสบ (dermatitis) พบว่ามวนพวกนี้ดูดกินเลือดได้มาก ทำให้เกิดบาดแผลที่เจ็บปวด บวม หรือการซึมของเลือด ผู้ที่แพ้มากจะเกิดความเจ็บปวดรุนแรง เนื่องจากพิษในน้ำลาย อาจทำให้เกิดลมพิษทั่วร่างกาย จะกัดผิวหนังที่ไม่มีเสื้อผ้าปกคลุม 2. การนำโรค (disease transmission) ในลักษณะการเป็นพาหะ
8
Reduviidae ความแตกต่างของมวนเพชรฆาต Reduviidae และ มวน Pentatomid
Pentatomidae
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.