ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสำคัญระดับชาติ (P&P National Priority)
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านพัฒนางานสาธารณสุข)
2
ความเป็นมา ปี ๒๕๔๕-๒๕๕๐ สปสช. ได้จัดสรรงบประมาณ ๓ ลักษณะ คือ
๑. PP vertical program ๒. PP facility-based ๓. PP community-based ปี ๒๕๕๑ สธ. และ สปสช. มีนโยบายความร่วมมือในการบริหารงบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับบุคคล โดยแบ่งงบ PP ออกเป็น ๔ ลักษณะ คือ ๒. PP area-based ๓. PP expressed demand ๔. PP community
3
ข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
๑. ให้ลดแผนงานโครงการที่กำหนดโดยหน่วยงานในส่วนกลาง (PP vertical program) ลงให้เหลือเท่าที่จำเป็นเท่านั้น ๒. ให้มีการบูรณาการแผนงาน/โครงการของกรมวิชาการก่อนลงไปในพื้นที่ รวมทั้งตัวชี้วัดและระบบรายงาน ๓. ให้กรมวิชาการทำหน้าที่กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน รวมทั้งติดตาม นิเทศ และประเมินผล
4
การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒
๑. สธ. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ๔ คณะ เพื่อทำหน้าที่กำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ แนวทางการบริหารงบประมาณ และติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงาน ๒. เปลี่ยน PP vertical program เป็น PP national priority
5
การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒
วัตถุประสงค์ เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่มีความสำคัญระดับชาติ ด้วยแผนงาน/โครงการที่เกิดจากการดำเนินงานร่วมกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
6
การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒
หลักเกณฑ์ ๑. ตอบสนองต่อปัญหา ความต้องการบริการสาธารณสุขในภาพรวมระดับประเทศ ๒. ตอบสนองต่อนโยบาย ยุทธศาสตร์ระดับประเทศต่อบริการสาธารณสุขด้านการส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ๓. เป็นแผนงาน/โครงการที่มีเป้าหมาย เป็นรูปธรรม มีระยะเวลาสิ้นสุดชัดเจนภายใน ๓-๕ ปี พร้อมทั้งเตรียมการถ่ายโอนเป็นภารกิจปกติระดับพื้นที่ต่อไป
7
การบริหารจัดการ PP National Priority ปีงบประมาณ ๒๕๕๒
Area วงเงิน ๑๕๓.๖ ล้านบาท จัดสรรให้ ๑.๑ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง ๑.๒ โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เพื่อพัฒนาคุณภาพแม่และเด็ก ๐-๕ ปี ๑.๓ กลุ่มแผนงานที่จะพัฒนาให้เป็นแผนงานที่มีความ สำคัญ ระดับชาติในปีงบประมาณ ๒๕๕๓
8
โครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนได้ทราบถึงภัยคุกคามสุขภาพจากโรคเบาหวานและภาวะอ้วนลงพุง ๒. เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวกับเบาหวานและอ้วนลงพุงต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ๓. เพื่อเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจคัดกรองเบาหวานและอ้วนลงพุงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ๔. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
9
โครงการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย: เบาหวานและอ้วนลงพุง
มาตรการ ๑. สร้างความตระหนัก ๒. เสริมสร้างสิ่งแวดล้อม ๓. เฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจคัดกรองความเสี่ยง ๒ ระดับ ๓.๑ คัดกรองความเสี่ยงในชุมชน โดย อสม. อปท. ๓.๒ คัดกรองความเสี่ยงระดับสถานบริการ โดยเจาะเลือด วัดความดัน ๔. ให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยในสถานบริการ ๕. ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ด้วยการดูแล เฝ้าระวัง และคัดกรอง
10
โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เพื่อพัฒนาอนามัยเด็กเล็ก ๐-๕ ปี
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้บริการสุขภาพอนามัยแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ๐-๕ ปี อย่างครอบคลุมและครบวงจรอย่างมีมาตรฐาน ๒. เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของบุคคลในครอบครัว ชุมชน สังคมในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และเด็ก ๐-๕ ปี
11
โครงการอนามัยเด็กเล็ก ๐-๕ ปี
มาตรการ ๑. พัฒนาบุคลากร ๒. พัฒนาสถานบริการ ๓. กำหนดมาตรฐานในการให้บริการ
12
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.