ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง
ฟิล์มคุณภาพ แพทย์อ่านถูกต้อง มีฟิล์มเสียในระหว่างการถ่ายภาพรังสี ต้องถ่ายภาพรังสีใหม่ ไม่มีการเก็บผลมาวิเคราะห์ GOAL ปริมาณฟิล์มเสียลดลงและอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
2
การวางแผน (Planing) ปัญหา (Problem) สาเหตุ (Cause)
เกิดฟิล์มเสีย ไม่มีการเก็บข้อมูล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุ และดำเนินการปรับปรุงแก้ไข สาเหตุ (Cause) เจ้าหน้าที่ขาดทักษะ ผู้รับบริการไม่ให้ความร่วมมือ การสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
3
การวางแผน (Planing) ปัญหา เกิดฟิล์มเสีย ไม่มีการเก็บข้อมูล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุและดำเนินการปรับปรุงแก้ไข สาเหตุ 1.เจ้าหน้าที่ขาดทักษะ 2.ผู้รับบริการไม่ให้ความร่วมมือ 3.การสื่อสารระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
4
แนวทางแก้ไข 1. ประชุมบุคลากรภายในหน่วยงาน 2
แนวทางแก้ไข 1.ประชุมบุคลากรภายในหน่วยงาน 2.ทำแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลฟิล์มเสีย 3.กำหนดตัวชี้วัด 4.นำข้อมูลในระยะเวลาที่กำหนดมาวิเคราะห์
5
การปฏิบัติ(DO). ข้อมูล 3 เดือนแรก เดือน มิถุนายน-สิงหาคม พ. ศ. 2545
6
สาเหตุฟิล์มเสียที่สำคัญ 3อันดับแรกคือ 1. มีรอยนิ้วมือบริเวณขอบฟิล์ม 2
สาเหตุฟิล์มเสียที่สำคัญ 3อันดับแรกคือ 1. มีรอยนิ้วมือบริเวณขอบฟิล์ม 2. ภาพไหว 3.การจัดท่าผู้ป่วยไม่ตรงกับส่วนที่แพทย์ต้องการดู แนวทางแก้ไข 1. ประชุมบุคลากรในหน่วยงาน 2. ทบทวนวิชาการเกี่ยวกับงานรังสี
7
ผลการดำเนินงานระยะที่ 2 เดือนตุลาคม เดือนกันยายน จำนวนฟิล์มที่ใช้ 4,716 แผ่น มีฟิล์มเสีย แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย % เดือนตุลาคม เดือนกันยายน จำนวนฟิล์มที่ใช้ 4,513 แผ่น มีฟิล์มเสีย แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย % เดือนตุลาคม เดือนธันวาคม จำนวนฟิล์มที่ใช้ 1,934 แผ่น มีฟิล์มเสีย แผ่น คิดเป็นอัตราฟิล์มเสีย %
8
จากการดำเนินงาน งานรังสีได้ประชุมภายในหน่วยงานเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานดังนี้ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทุกเดือน เพื่อนำปัญหาที่พบมาปรับปรุงแก้ไขได้รวดเร็วทันต่อเวลา ปรับปรุงตัวชี้วัดจากเดิม ตั้งเป้าไว้ที่ 5 % ปรับปรุงเป็น 3 % และมีการพัฒนาให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง
9
รายการบันทึก
10
สาเหตุสำคัญของฟิล์มเสีย 3 อันดับแรก 1. ฟิล์มดำ/ขาวเกินไป 2. ภาพไหว 3
สาเหตุสำคัญของฟิล์มเสีย 3 อันดับแรก 1. ฟิล์มดำ/ขาวเกินไป 2. ภาพไหว 3. มีสิ่งแปลกปลอม
11
แนวทางแก้ไข 1. ปรับปรุงเทคนิคการให้Exposureอย่างถูกต้องและเหมาะสม 2
12
การตรวจสอบ(Check) อัตราฟิล์มเสียอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ ปัจจุบันไม่เกิน3% ดลระบบ(Act) 1. มีอัตราฟิล์มเสียลดลงเป็นการทบทวนการใช้ทรัพยากรเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเฝ้าระวังโดยการเก็บข้อมูลต่อไปเพื่อให้มีฟิล์มน้อยที่สุดหรือไม่มีต่อไป 2. ผู้ป่วยไม่ต้องฟิล์มซ้ำ ทำให้ได้รับปริมาณรังสีน้อยลง 3. มีการนำความรู้ทางวิชาการมาใช้ในการปฏิบัติงานมากขึ้น ซึ่งถือได้ว่ามีการทบทวนความรู้ทางวิชาการควบคู่กันไป 4.ทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดฟิล์มเสีย และสามารถปรับปรุงแก้ไขได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.