งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาษาวิทยุกระจายเสียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาษาวิทยุกระจายเสียง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาษาวิทยุกระจายเสียง
ใช้เสียงสร้างภาพ ปลุกเร้าจินตนาการของผู้ฟัง ภาษาที่ง่าย ไม่ซับซ้อน ชัดเจน กระชับ หลีกเลี่ยงคำฟุ่มเฟือย ไม่จำเป็น ไม่ใช้คำยาก ศัพท์เทคนิค ภาษาต่างประเทศ หลีกเลี่ยงตัวเลขมากๆ ฟังแล้วเข้าใจ ไม่ต้องตีความ หลีกเลี่ยงประโยคยาวที่มีคำขยายหรือคำเชื่อม

2 ประเภทของภาษาวิทยุกระจายเสียง
ภาษาเขียน คือ การเขียนบท 1.แบบสมบูรณ์ *รายการข่าว บทความ * สารคดี ละคร 2.แบบกึ่งสมบูรณ์ *รายการสัมภาษณ์ 3.แบบคร่าวๆ *รายการเพลง ภาษาพูด *ชัดเจน ตรงประเด็น *ไม่เยิ่นเย้อ วกวน *มีไหวพริบ ปฏิภาณ *แก้ปัญหาเฉพาะหน้า *มีความรู้

3 หลักการพูดทางวิทยุกระจายเสียง
อารมณ์ ความรู้สึกต้องมีชีวิตชีวา พูดกับเพื่อน สุภาพ จริงใจ ถูกต้องชัดเจน มั่นใจในการพูด ควบคุมอารมณ์ในการพูด สื่อสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์

4 หลักการอ่านออกเสียงในภาษาไทย
การออกเสียงพยัญชนะเดี่ยว เช่น ช ซ ร ล คำควบกล้ำ คว/ กล้ำ ร/ กล้ำ ล สระเสียงสั้น สระเสียงยาว วรรณยุกต์ *วรรณยุกต์ระดับ เอก สามัญ ตรี *วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ โท จัตวา การลงเสียงหนักเบา

5 ภาษาบาลี-สันสกฤต การออกเสียงคำสมาส การออกเสียงคำที่มีอักษรนำ การอ่านร้อยแก้ว *พยายามให้เป็นเสียงพูด *ขึ้นต้นดังและช้ากว่าปกติ *หยุดหายใจและเน้นคำให้ถูกที่ *เน้นอารมณ์เข้ากับเนื้อเรื่อง

6 การอ่านร้อยกรอง. หยุดตามวรรคของคำประพันธ์นั้นๆ. คำหยุดให้ทอดเสียง
การอ่านร้อยกรอง *หยุดตามวรรคของคำประพันธ์นั้นๆ *คำหยุดให้ทอดเสียง *เน้นจังหวะสัมผัสคล้องจอง *เน้นอารมณ์ตามเนื้อเรื่อง *ไม่เป็นเสียงพูด ไม่ห้วน *แบ่งวรรคให้ถูกต้อง *ระวังคำยาก หรือราชาศัพท์


ดาวน์โหลด ppt ภาษาวิทยุกระจายเสียง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google