ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาคอีสาน
รศ.ดร.กัลปพฤกษ์ ผิวทองงาม คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3
SMEs สุขภาพ การท่องเที่ยว เกษตรกรรม ความยากจน พลังงาน สิ่งแวดล้อม น้ำ
- ขาดความสมดุลด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพ ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมมีใช้ไม่ครอบคลุม -ขาดการเรียนรู้เทคโนโลยี -ความสามารถการแข่งขันน้อย SMEs สุขภาพ - ขาดเทคโนโลยีช่วยในการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวไม่ได้รับการปรับปรุงเพื่อพัฒนา - ขาดแคลนแรงาน - ผลิตสินค้ามูลค่าเพิ่มน้อย - การย้ายฐานการผลิตไปลาว - ดินเค็ม ร้อน แล้ง - ความผันผวนของราคาสูง - ขาดภูมิคุ้มกันความยากจน มีความยากลำบากในการเข้าถึงเทคโนโลยี การท่องเที่ยว เกษตรกรรม ความยากจน -ไม่มีเทคโนโลยีของไทย -มีวัตถุดิบหลากหลายในการผลิตเป็นพลังงานชีวมวล -ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีที่มียูย่างเต็มที่ พลังงาน -แร่เหมืองทองเลย น้ำเสียที่น้ำพอง - ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากหน่วยผลิตย่อย สิ่งแวดล้อม น้ำ -มีแหล่งน้ำขนาดใหญ่จำนวนน้อย
4
ยาง ไม้ยืนต้น ผัก เหมืองแร่ ท่องเที่ยว การค้าชายแดน อ้อย มัน ข้าว อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ผลไม้
5
การเปลี่ยนแปลงในอนุภาคลุ่มน้ำโขงที่ส่งผลกระทบต่อสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
6
เปรียบเทียบปริมาณการเดินทางข้ามแดนระหว่าง ด่านพรมแดนมุกดาหารและด่านหนองคาย
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
7
การคมนาคม การลงทุนจากต่างชาติ
8
ด่านชายแดนมุกดา-หารสะหวันนะเขต
การค้าขายที่คึกคักอย่างเห็นได้ชัด เช่น สินค้าชิ้นส่วนอิเลคทรอนิคส์จากสิงคโปร์ ส่งไปโรงงานประกอบในจีน ผลไม้ วัว การลงทุนโดยตรงเริ่มเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น
9
การลงทุนร่วมระหว่างรัฐบาลลาวและ Pacifica Streams Development (Malaysia) Co.Ltd. อุตสาหกรรมเป้าหมายของลาว รองเท้า เสื้อผ้าและส่วนประกอบอิเลคโทรนิคส์ อาหารแปรรูป แปรรูปไม้ ผลิตวัสดุก่อสร้าง ขนส่ง จักรกลเกษตร ท่องเที่ยว ค้าปลีก-ค้าส่ง ประเทศที่เข้ามาลงทุน มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี จีน ไทย ไต้หวัน เวียดนาม ทรัพยากรที่สำคัญ ทองคำ ทองแดง แร่ต่างๆ ที่ดิน น้ำ ไฟฟ้า
10
ด่านแดนสะวัน (ลาว)-ลาวบาว(เวียดนาม)
ทางสองเลนในเวียดนามยังเป็นอุปสรรค รัฐบาลมีแผนการขยาย Highway ด่านแดนสะวัน (ลาว)-ลาวบาว(เวียดนาม) สินค้าไทยยังติดตลาด เช่น ผลไม้ ข้าว วัว สินค้าอุปโภค-บริโภค สินค้าอิเลคทรอนิคส์ ผู้บริโภคต้องการสินค้าที่มาจากไทยจริงๆ เมืองมีการขยายตัวมากขึ้น จักรยานยนต์ ยังใช้กันมาก ความต้องการรถยนต์เพิ่มสูงขึ้น ถนนหนทางยังไม่รองรับการขยายตัวของเมือง ด่านชายแดนเวียดนาม-จีนยังติดขัดเรื่องระบบเอกสาร แต่มีการค้าขายและขนส่งสินค้าคึกคักตลดอดวัน
11
อสังหาริมทรัพย์มีการขยายตัวอย่างมาก ทำให้มีผู้ทำรายได้จากการเก็งกำไรมาก เศรษฐกิจขยายตัวสูงจากรายได้ที่เพิ่มขึ้น สองข้างทางมีการปลูกพืชแบบเกษตรพันธะสัญญา เช่น กล้วย อ้อย ยาง ยูคา รัฐบาลจีนสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ Asian Gateway การโปรโมทเมืองหนานหนิงในฐานะ Asian Gateway เป็นไปอย่างคึกคักทั่วเมือง อาคารพาณิชย์และที่พักอาศัยถูกเนรมิตขึ้นทั้งเมือง ร้านค้าทันสมัยก็มีตลอดเมืองเช่นกัน
12
ศูนย์โลจิสติกส์ว่านทง เป็นศูนย์กระจายสินค้าไปยงทั่วไประเทศตั้งอยู่มเมืองผิงเสียงชายแดนเวียดนาม-จีน
เมืองชายแดนท้องถิ่นด่านผู่จ่าย Hub ทางด้านการค้า การบริการ การเงินและเทคโนโลยี Business matching การเตรียมต้อนรับการลงทุน
13
แหล่ง Shopping ที่ทันสมัยของเมือง และรสนิยมที่เป็นตะวันตกมาขึ้นของชาวจีน
เอกชนสร้างศูนย์กระจายสินค้าการเกษตรขึ้นมาลองรับสินค้าจากไทยเวียดนาม และลาว สินค้าที่เป็นที่สนใจในปัจจุบันได้แก่ ผลไม้ ยางพารา และข้าว พื้นที่ถ่ายสินค้าจากคอนเทนเนอร์ 68 ตารงเมตร พื้นที่สำนักงาน 24 ตารางเมตร ราคา 4-5 พันหยวนต่อเดือน
14
การเปลี่ยนแปลงในอนาคตของอีสาน
-มีนักลงทุนมากขึ้นโดยเฉพาะจาก AEC -อุตสาหกรรมก่อสร้างและอุตสาหกรรมที่ช่วยในการรองรับนักลงทุนจะมีการขยายตัวอย่างมาก -อุตสาหกรรมเกษตร และแปรรูปเกษตรขั้นพื้นฐานจะย้ายฐานไปลาวเนื่องจากพื้นที่การเกษตรของไทยมีจำกัด เช่นน้ำตาล โรงสี โรงแป้ง โรงงานกระดาษ -ความต้องการอุตสาหกรรมสนับสนุนของอุตสาหกรรมเหล่านี้และอุตสาหกรรมบริการที่ให้ความสะดวกกับแรงงานจะเพิ่มขึ้น
15
ควรเตรียมตัวรับมืออย่างไร
สินค้าเกษตรจะมีราคาสูงขึ้นเพราะความต้องการจากจีน และไทยไม่สามารถขยายพื้นที่ผลิตได้อีกต่อไป ช่วงเริ่มต้นเตรียมตัวรับการขยายตัวของโครงสร้างพื้นฐาน อสังหาริมทรัพย์น่าจะขยายตัวค่อนข้างมาก เตรียมรับนักลงทุน เตรียมรับความต้องการแรงงานที่เปลี่ยนไป เตรียมรับอุตสาหกรรมสนับสนุน และการย้ายฐานของอุตสาหกรรมเกษตร หรืออุตสาหกรรมแปรรูปขั้นกลาง/สูง/เกษตรสู่จังหวัดชายแดน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.