ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMae-ying-thahan Nut ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
2
การจัดการผู้เสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ
3
วัตถุประสงค์ สามารถบอกความความสัมพันธ์ของ นิติวิทยาศาสตร์กับการกู้ภัยได้ สามารถบอกกระบวนการในจัดการกับผู้เสียชีวิตได้
4
นิติวิทยาศาสตร์ คือ “การนำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ทุกสาขามาประยุกต์ใช้เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงในคดีความเพื่อผลใน การบังคับใช้กฎหมายและการลงโทษ”
5
การนำเอานิติวิทยาศาสตร์มาใช้ ในขอบเขตโดยทั่วไป ดังนี้
การนำเอานิติวิทยาศาสตร์มาใช้ ในขอบเขตโดยทั่วไป ดังนี้ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ และการถ่ายรูป การตรวจลายนิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า การตรวจเอกสาร เช่น ตรวจลายเซ็น ลายมือเขียน การตรวจอาวุธปืน และกระสุนปืนของกลาง การตรวจทางเคมี เช่น ตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารต่าง ๆ การตรวจทางฟิสิกส์ เช่น ตรวจร่องรอยการเฉี่ยวชนรถ การตรวจทางชีววิทยา เช่น ตรวจเส้นผม เลือด อสุจิ ของผู้บาดเจ็บ การตรวจทางนิติเวช ได้แก่ งานนิติพยาธิ งานนิติวิทยา งานชีวเคมี งานพิสูจน์บุคคล งานภาพการแพทย์
6
การกำหนดวิธีการในการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล - ข้อมูลหลัก - ข้อมูลรอง
การกำหนดวิธีการในการตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล - ข้อมูลหลัก - ข้อมูลรอง
7
การนำนิติวิทยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ทางการกู้ภัย ความรู้เบื้องต้นที่ทีมกู้ภัยควรทราบมีดังนี้ 1. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา มาตรา มาตรา พระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร แจ้งตาย กรณีมีคนตายในบ้าน หรือมีคนตายนอกบ้าน กรณีมีคนตายในสถานพยาบาล กรณีเก็บ ฝัง เผาทำลาย และย้ายศพผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
8
ทั้งในกรณีมีคนตายในบ้าน
และ กรณีมีคนตายนอกบ้าน ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ ภายใน 24 ชั่วโมง
9
การตายโดยผิดธรรมชาติ นั้นคือ
ฆ่าตัวตาย ถูกผู้อื่นทำให้ตาย ถูกสัตว์ทำร้ายตาย ตายโดยอุบัติเหตุ ตายโดยยังมิปรากฏเหตุ
10
บทบาทและหน้าที่หลักของทีมกู้ภัย
กู้ภัยและช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รอดชีวิต และนำส่งแพทย์ยังโรงพยาบาล หากมีผู้เสียชีวิตหรือพบศพในพื้นที่เกิดเหตุ และไม่มีสามี ภรรยา ญาติ มิตรสหาย หรือผู้ปกครองของผู้ตายอยู่ในที่นั้นด้วย ต้องจัดการดังต่อไปนี้ - เก็บศพไว้ ณ ที่ซึ่งพบเพียงเท่าที่จะทำได้ - ไปแจ้งความแก่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยเร็วที่สุด ป้องกันไม่ให้เกิดภัยซับซ้อนขึ้นอีก รวมทั้งให้ความร่วมมือช่วยเหลือเจ้าหน้าที่รัฐ/หน่วยงานอื่นที่เข้ามาช่วยเหลือในเหตุการณ์
11
ข้อควรปฏิบัติในการดำเนินการเกี่ยวกับผู้เสียชีวิตในที่เกิดเหตุ
สามารถระบุตำแหน่งที่พบศพโดยกำหนดจุดพบศพ ทำเครื่องหมายและบันทึกสภาพแวดล้อมพื้นที่ที่พบศพไว้ วิธีการให้หมายเลขศพ ไม่แยกทรัพย์สินใดๆ ออกจากตัวศพ ควรกระทำอย่างรอบคอบ
12
ข้อควรปฏิบัติ ในการค้นหาผู้ประสบภัย
ข้อควรปฏิบัติ ในการค้นหาผู้ประสบภัย รายงานตัว แสดงตน รับฟังการชี้แจง มอบหมายภารกิจจาก เจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจสั่งการ
13
การค้นหาและส่งต่อผู้ประสบภัย
1. ผู้ไม่ได้รับบาดเจ็บ 2. ผู้ได้รับบาดเจ็บ 3. ผู้ไร้ที่พักอาศัย 4. ผู้เสียชีวิต
14
ข้อมูลเบื้องต้นจากสถานที่เกิดเหตุมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล การทำอย่างรวดเร็วในช่วงแรก แต่จะเป็นผลให้ช้าในช่วงหลัง การทำอย่างละเอียดถี่ถ้วนและช้าในช่วงแรก แต่จะเร็วในช่วงหลัง
15
มีอะไรซักถามบ้างครับ?
16
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.