ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSaengdao Thanom ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ผลของการจัดกิจกรรมกลุ่มต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี วันเพ็ญ พูลเพิ่ม พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลโพนทอง
2
ข้อมูลทั่วไป อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ประชากร 112,527 14 ตำบล
ประชากร 112,527 14 ตำบล 196 หมู่บ้าน
3
โรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง สถานีอนามัย 21 แห่ง
สถานบริการสาธารณสุข โรงพยาบาล ขนาด 60 เตียง สถานีอนามัย 21 แห่ง
4
บุคลากรของโรงพยาบาล แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ได้แก่
แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ได้แก่ 1. เวชศาสตร์ครอบครัว คน 2. กุมารแพทย์ คน 3. สูตินรีแพทย์ คน 4. ศัลยแพทย์ คน 5. สุขภาพจิตชุมชน คน แพทย์ทั่วไป คน ทันตแพทย์ คน เภสัชกร คน พยาบาลวิชาชีพ คน นักเทคนิคการแพทย์ คน นักกายภาพบำบัด คน นักโภชนากร คน นักรังสีเทคนิค คน เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค คน แพทย์แผนไทย คน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ คน
5
บริบทของปัญหา อำเภอโพนทองเป็นอำเภอขนาดใหญ่ที่มียอดผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์สะสมสูงอำเภอหนึ่งโดยมีจำนวน คน ยังมีชีวิตอยู่และมารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวน คน
6
จากการสอบถามปัญหาผู้ป่วยขณะให้บริการปรึกษา
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์มีปัญหาทั้งด้านร่างกาย จิตใจพอสรุปได้ดังนี้ ผู้ติดเชื้อยังไม่กล้าเปิดเผยตัวเองกับสังคม กลัวถูกรังเกียจและทอดทิ้ง ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง มีความวิตกกังวล เครียดเกี่ยวกับโรคที่ตัวเองเป็นอยู่ กลัวเสียชีวิตก่อนลูกโต มีปัญหาเศรษฐกิจ ตกงาน
7
สิ่งที่ผู้ป่วยต้องการจากโรงพยาบาลคือ
ต้องการให้โรงพยาบาลจัดกิจกรรมกลุ่มผู้ติดเชื้อทุกเดือนเพื่อพบปะกับเพื่อนๆได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆในกลุ่มผู้ติดเชื้อด้วยกัน การได้รับความรู้ข่าวสารใหม่ๆจากแพทย์ พยาบาลเจ้าหน้าที่อื่นๆ ในทีมสุขภาพ การรับฟังปัญหา รวมทั้งการช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ
8
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี มีความสุขและพึงพอใจในชีวิตเท่ากับคนทั่วไป เป้าหมาย
9
กิจกรรมการพัฒนา กิจกรรมกลุ่มประกอบด้วย
ให้ความรู้เกี่ยวกับยาต้านไวรัสและการกินยาให้ตรงเวลาโดยเภสัชกร และพยาบาล การสอนทักษะการผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่างๆจากหน่วยงานแพทย์แผนไทย การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดคุยปัญหาซึ่งกันและกันช่วยกันแก้ไขปัญหา การรับประทานอาหารร่วมกัน ระหว่างผู้ป่วยและทีมสุขภาพ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามปัญหาต่างๆทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม การเสนอทางเลือกของการแก้ปัญหา กิจกรรมกลุ่มใช้เวลาช่วงเช้า โดยนัดหมายกันทุกวันศุกร์แรกของเดือน
10
การวัดผลและผลการเปลี่ยนแปลง
ใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
11
แบบสอบถาม 1.ดัชนีวัดความสุขของคนไทย
พัฒนาโดยนายแพทย์อภิชัยมงคล กรมสุขภาพจิต
12
2. แบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ พัฒนาโดยนายแพทย์สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
13
ผลการเปลี่ยนแปลง การจัดกิจกรรมกลุ่มครั้งแรกมีผู้ติดเชื้อเข้าร่วมกิจกรรมเล็กน้อยเพียง คนในเดือนมกราคม ต่อมา มีผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและเมื่อสิ้นสุดโครงการเดือนกันยายน 2552 มีผู้ติดเชื้อเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มจำนวน 40 คน
14
ผลการเปลี่ยนแปลง เพศ ชาย หญิง จำนวน (คน) อายุเฉลี่ย (ปี) คะแนนเฉลี่ย
ด้านความสุข คะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตโดยรวม ชาย 20 36.2 27.85 (มีความสุขเท่ากับคนทั่วไป) 90.45 (มีคุณภาพชีวิตกลางๆ) หญิง 38.8 23.15 (มีความสุขน้อยกว่าคนทั่วไป) 79.55
15
ข้อมูลเชิงคุณภาพพอสรุปได้ดังนี้
รู้สึกสบายใจมีกำลังใจ ได้พบเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน ได้เพื่อนใหม่ๆและทำกิจกรรมร่วมกัน ได้แลกเปลี่ยนความติดเห็นซึ่งกันและกัน รู้ปัญหาตนเองร่วมกันหาทางแก้ไข ได้รับคำปรึกษา สิทธิประโยชน์ต่างๆที่ตนเองจะได้รับ ได้รับความรู้ ข้อมูลใหม่ๆ โรงพยาบาลให้โอกาสดีๆ
16
บทเรียนที่ได้รับ การจัดกิจกรรมกลุ่มไม่สามารถตอบสนองปัญหาและความต้องการให้หมดไปแต่การรับฟังปัญหาความต้องการและข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการเป็นสิ่งที่ทีมสุขภาพควรใส่ใจเป็นอย่างยิ่ง โอกาสพัฒนาอีกหลายด้านที่ต้องการฟังเสียงสะท้อนจากมุมมองจากผู้รับบริการเพื่อออกแบบระบบบริการให้สอดคล้องกับความต้องการอย่างแท้จริง
17
ผู้ติดเชื้อเอชไอวีจัดเป็นผู้ด้อยโอกาสในสังคม ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข
18
ความสุขที่แท้จริงเกิดจากข้างในจิตใจของคนเรา และถ้าจิตใจของคุณไม่ว่าง เต็มไปด้วยอารมณ์อันตรายต่าง ๆ ความสุขก็จะเกิดขึ้นได้ยากยิ่ง เพราะความสุขนั้นมักเกิดขึ้นท่ามกลางความสงบเสมอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.