ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKosum Wisetkaew ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ Infrastructure Group Learning
2
โรงพยาบาลแม่ลาว ประชากร : 33,763 8,986 ครอบครัว 5 ตำบล 64 หมู่
3
ข้อมูลโรงพยาบาลแม่ลาว รพ.ชุมชน 30 เตียง –9 Primary care units แพทย์ 2 คน ทันตแพทย์ 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 44 คน จนท. อื่น 143
4
ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ สะสม 1,170 ราย –ผู้ติดเชื้อที่มีชีวิตอยู่ 448 ผู้ติดเชื้อไม่มีอาการ 107 ผู้ติดเชื้อมีอาการ 9 ผู้ป่วยเอดส์ 332 ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ที่เข้าสู่ระบบ ของการ ดูแล รพ. แม่ลาว 270 -ผู้ติดเชื้อที่เปิดเผยตัว 250 -ผู้ติดเชื้อที่ไม่เปิดเผย 20 ข้อมูลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ (1988-2008) PLHAs received treatment in the hospital ข้อมูล ณ. ก. ย. 2551
5
ความเป็นมาในการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ เข้าร่วมอบรม HIVQUAL –T Model เมื่อ 23 ธ.ค. 2546
6
นำโปรมแกรม HIVQUAL-T ประเมินการทำงาน ปี 2545 และ 2546
7
นำเสนอผลการวัดต่อทีมงาน นำเสนอผลการประเมิน เสนอต่อทีมสหวิชาชีพ และผู้อำนวยการ โรงพยาบาล ร่วมวางแผนกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ ปัจจัยในการเลือก กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ อะไรที่ สามารถ ทำได้ทันที/ ทีมพร้อม / งบประมาณไม่มาก รพ.ทำเองไม่ต้องพึ่งงบที่ไหน
8
อะไร? ทำให้เราเลือกทำการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกเป็นกิจกรรมพัฒนา คุณภาพ ผลการประเมินจาก HIVQUAL-T สะท้อน การ ดูแลหญิงติดเชื้อที่ผ่านมาที่ยังไม่ได้ทำกิจกรรมนี้ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไม่ใช่เรื่องใหม่ –พบว่า อัตรา Squamous intraepithelial lesion (SIL) สูงขึ้น 33-45% ในหญิงติดเชื้อ เทียบกับ 7-14 % ในหญิงไม่ติด เชื้อ (MMWR 2002;517 (RR-6):59) มีความพร้อมของทีมการคัดกรอง ผู้อำนวยการสนับสนุนใช้งบประมาณโรงพยาบาล
9
รูปแบบการทำกิจกรรมพัฒนา คุณภาพครั้งแรก เป็นรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ ประสานขอความร่วมมือโดยอาศัย สัมพันธภาพส่วนตัวกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเช่น OPD, งานชันสูตร ข้อดี: -สามารถเริ่มดำเนินการได้ ทันที -มีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ -สามารถปรับเปลี่ยนแผนการ ดำเนินงานได้ง่าย
10
ขั้นตอนการทำการพัฒนาคุณภาพ 1.ลงทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย(list รายชื่อจากฐานข้อมูล) เพื่อจะได้ทราบจำนวนกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามการมา ตรวจคัดกรอง 2.กำหนดวันคัดกรอง 3.ประชาสัมพันธ์แก่กลุ่มผู้ติดเชื้อ (ARV Clinic, Csg, DDC) นัดกลุ่มเป้าหมาย 4.ชี้แจงวัตถุประสงค์และให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้รับการคัดกรอง (ที่ Day Dare Center,วันคัดกรอง) 5.ดำเนินการตรวจคัดกรอง(OPD) 6.นัดฟังผลการตรวจ 7.ติดตามในรายที่มีผลผิดปกติ และส่งต่อเพื่อทำการรักษา 8.เยี่ยมบ้าน 9.รวบรวมข้อมูล( Log book )
11
ขั้นตอนการทำการพัฒนาคุณภาพ ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้
12
หญิงติดเชื้อ HIV ยินยอม Pap smear ไม่ยินยอม Pap smear ให้การปรึกษาตาม สภาพปัญหา Follow up ไม่มาตามนัด -ติดตามโดยเครือข่าย -ติดตามคลินิก ARV, Csg, DCC มาตามนัด -ลงทะเบียน, ซักประวัติ -คัดกรอง ห้อง PV ที่ OPD -นัดฟังผล (ที่บ้าน) ผลปกติ -แนะนำตรวจซ้ำทุก 1 ปี รวบรวมข้อมูล, วิเคราะห์ข้อมูล, พัฒนางาน ผลผิดปกติ - ตรวจซ้ำ, ส่งต่อ - ติดตามผลการรักษา Flowc hart
13
ผลการประเมิน HIVQUAL-T หลังกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
14
ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2004-2008)
15
ชนิดของความผิดปกติที่พบ
16
ตัวชี้วัดเป้าห มา ย 25 4 5 25 4 6 25 4 7 25 4 8 25 4 9 25 5 0 25 5 1 1. ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่ได้รับการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก อย่างน้อย 1 ครั้ง / ปี 800073808187878585 2. ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่ได้รับการตรวจ แล้วมีผลการตรวจ ผิดปกติ -NA 8. 0 6 (5) 8.4 3 (7) 17. 9 (15 ) 5.3 (6) 3.4 (4) 3. ร้อยละของหญิงติดเชื้อ HIV ที่มีผลการตรวจ ผิดปกติได้รับการดูแล รักษา ตามมาตรฐาน ( ส่ง ต่อ ) 90NA 10 0 (5) 10 0 (7) 10 0 (15 ) 83 (5) 10 0 (4) 4. จำนวนที่พบผู้ที่ได้รับ การวินิจฉัยเป็นมะเร็ง ปากมดลูก -NA 31--1 ผลการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
17
อะไรที่ทำให้เรายังไม่สามารถเพิ่ม ระดับตัวชี้วัดให้สูงขึ้นได้ หญิงติดเชื้อที่ FU ทุก 6 เดือน (กลุ่มที่CD4 สูงอยู่ต่างจังหวัด) ความตระหนักในการมารับการตรวจตามนัด ของผู้รับบริการ ภาระงานในคลินิกทำให้ จนท.ละเลยที่จะ ติดตามในบางครั้งซึ่งอาจตรงกับผู้ป่วยที่รับ ยาครั้งละ2-3 เดือนมาใช้บริการ
18
สิ่งที่ได้เรียนรู้ การให้บริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกทำให้หญิงติดเชื้อมี โอกาสเข้าถึงบริการตรวจมากขึ้น เดิมมีช่องทางการเข้าถึงบริการแต่ยังติดเรื่องความเข้าใจ ของผู้ที่ร่วมใช้บริการในครั้งนั้น ความสุขของทีมให้บริการที่สามารถค้นหาผู้ป่วยผลผิดปกติ ในระยะแรกและผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีและรอดชีวิตจาก มะเร็งปากมดลูก การมีส่วนร่วมของทีมงานและการประสานการทำงานอย่าง เป็นระบบ ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองมากขึ้น การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อได้เร็วเท่าไหร่จะ ช่วยทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาได้เพิ่มมากขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.