งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
รศ.ดร.สมบัติ คชสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 21 พฤษภาคม 2552

2 ภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ
ภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

3 วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นแหล่งสร้างคนและงานวิชาที่ได้มาตรฐาน ผสานความเป็นไทยตามแนวพระราชดำริ เพื่อรองรับการพัฒนาภาคกลางของประเทศให้มีขีดความสามารถในการร่วมมือและแข่งขันได้ในอาเซียอาคเนย์

4 ปัจจัยจำเป็นต่อการประกันคุณภาพการศึกษา
คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา การแข่งขันกันในเชิงคุณภาพ ความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาองค์ความรู้ ความจำเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจให้แก่สังคม จะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ ระบบอุดมศึกษาที่มีความโปร่งใส พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ประเมินคุณภาพการศึกษาทำหน้าที่ประเมินคุณภาพสถานศึกษา

5 แสดงความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและการประกันคุณภาพการศึกษา

6 วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
เพื่อตรวจสอบและดำเนินงานของคณะ เพื่อให้คณะทราบสถานภาพของตนเองอันจะนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพ เพื่อให้คณะทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดมีข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการส่งเสริม สนับสนุน

7 ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มีเป้าหมายและตัวบ่งชี้ความสำเร็จที่ชัดเจน (Plan) มีการดำเนินงานและเก็บข้อมูลตามแผน (Do) มีการตรวจสอบและประเมินผลเทียบกับแผน (Check) มีการปรับปรุงพัฒนาตามผลการประเมินอย่างเป็นระบบ (Act)

8 มาตรฐาน องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
มาตรฐาน องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรอง มาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) มาตรฐานองค์กร วิชาชีพเฉพาะ

9 หลักการการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก
เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ยึดหลักการความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูล ตามสภาพความเป็นจริง มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณ- มิตร ส่งเสริมความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมาย และหลักการศึกษาของชาติตามที่กำหนไว้ใน พรบ.การศึกษา

10 วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก
เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดเด่นและจุดด้อยของ มหาวิทยาลัย เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา แก่มหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาคุณภาพและประกัน- คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง

11 แสดงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน กับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก

12 การประเมินคุณภาพการศึกษา ในภารกิจด้านการเรียนการสอน
ประสิทธิภาพของการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ที่ได้งานทำและการประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำตรงสาขาที่สำเร็จ การศึกษา ร้อยละของบทความวิทยานิพนธ์ ป.โท หรือ ป.เอก ที่ตีพิมพ์เผย แพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ

13 ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต
ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต ร้อยละของนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่อง ในด้าน วิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและ วัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชาติหรือนานาชาติ มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วน และสอดคล้องกับ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ร้อยละของระดับความพึงพอใจต่อสถาบันฯ ของนิสิตนักศึกษา ระดับความสำเร็จในการพัฒนาสถาบันสู่ระดับสากล

14 การประกันคุณภาพการศึกษา ในภารกิจด้านการวิจัย
ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ในระดับชาติและในระดับนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่ออาจารย์ประจำ/นักวิจัยประจำ ร้อยละของผลงานวิชาการที่ได้รับการจดสิทธิบัตรและ/หรือ ได้รับรองคุณภาพ

15 การประเมินคุณภาพการศึกษาในภารกิจ ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
มีการกำหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนา กลยุทธ์ แผนดำเนินงานและมีการกำหนดตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จ ของการดำเนินงานตามแผนให้ครบทุกภารกิจ มีระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สังคมตามเป้าหมายของ สถาบัน ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ สังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

16 ร้อยละของระดับความพอใจของผู้รับบริการ
มีความพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้ มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ในกระบวนการบริหารการศึกษา

17 การประเมินคุณภาพการศึกษาในภารกิจ ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
มีระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีผลงานหรือชิ้นงานการพัฒนาองค์ความรู้ และสร้างมาตรฐาน ศิลปวัฒนธรรม (เฉพาะสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนา ศิลปวัฒนธรรม) ประสิทธิผลในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์

18 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google