งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรนำที่ผลักดันตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจการค้า ตามมาตรฐานสากล ให้เป็นที่รู้จัก และใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ มุ่งเน้นผลงาน บริการด้วยใจ โปร่งใสให้ตรวจสอบ ตอบสนองพันธกิจ

2 การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การใช้สูตรค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ในกระบวนการจัดทำดัชนีราคาผู้บริโภค

3 1. การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลมีกี่วิธี มีระเบียบวิธีทางสถิติ 5 วิธี คือ
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) 2) มัธยฐาน (Median) 3) ฐานนิยม (Mode) 4) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean) 5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (Harmonic Mean)

4 ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อดี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) เข้าใจและคำนวณง่าย 2) ได้ใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ 3) คำนวณได้เสมอทุกกรณีและเป็นค่าที่แน่นอนไม่ว่าข้อมูลจะแจกแจงหรือไม่แจกแจงความถี่ 4) ใช้คำนวณในสถิติขั้นสูงมากกว่าค่าเฉลี่ยแบบอื่น ๆ 5) ส่วนเบี่ยงเบนของคะแนนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตให้ค่าน้อยที่สุด

5 ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ข้อเสีย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 1) จากการที่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตต้องใช้คะแนนทุกตัวในการคำนวณ ฉะนั้นถ้ามีคะแนนตัวใดผิดปกติค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะให้ค่าเฉลี่ยที่ผิดปกติด้วย 2) ค่าของค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะตรงกับค่าที่เป็นจริงข้อมูลเพียงไม่กี่รายการ หรืออาจไม่ตรงกันเลย

6 1. การหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อจัดทำดัชนี มีกี่วิธี
3 วิธี ดังนี้ 1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา) 2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์) 3) The geometric mean of price relatives = The relative of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)

7 2.บอกความหมาย สูตร และนัยสำคัญของแต่ละวิธี
1) The relative of arithmetic mean prices : RA (สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา)

8 ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร RA

9 (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์)
2) The arithmetic mean of price relatives : AR (ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์)

10 ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร AR
-

11 3) The geometric mean of price relatives = The relative
of geometric mean prices : GM (ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา)

12 ตัวอย่าง ตารางการคำนวณโดยใช้สูตร GM

13 3.เชื่อมโยงสูตรกับการจัดทำค่าเฉลี่ยของราคาสินค้า
สูตรคำนวณดัชนี Modified Laspeyres สัมพัทธ์เฉลี่ย น้ำหนักถ่วง/ค่าใช้จ่าย

14 4.ผลกระทบจากการคำนวณค่าเฉลี่ยแต่ละวิธี ที่มีต่อค่าดัชนี
สูตร สัมพัทธ์ RA 74.86 GM AR 101.26 - ราคาเฉลี่ยปัจจุบัน ราคาเฉลี่ยช่วงก่อนหน้า ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร AR จะมีค่ามากกว่าสูตร RA และ GM เสมอ ซึ่งส่งผลให้ตัวเลขดัชนีสูงด้วย ค่าสัมพัทธ์ที่คำนวณได้จากสูตร GM อาจจะมากหรือน้อยกว่าสูตร RA สรุป AR > RA,GM

15 5.สรุปจุดเด่น – จุดด้อยของวิธีต่างๆที่ใช้ในอดีต->ปัจจุบัน
ตารางแสดงคุณสมบัติของสูตรดัชนีผลรวมพื้นฐานที่สำคัญ RA AR GM - ความเป็นสัดส่วนกัน + + + - การเปลี่ยนแปลงหน่วย + + - - การเปลี่ยนกลับกันของเวลา + - + - การถ่ายทอด + + - - การทดแทนกัน No No Yes

16 6.ปัจจุบันใช้กี่วิธี อะไรบ้าง
2 วิธี คือ 1) สูตร AR - ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสัมพัทธ์ 2) สูตร GM – ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคาสัมพัทธ์ หรือเท่ากับ สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ยเรขาคณิตของราคา

17 7.ทำไมจึงเปลี่ยนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อทำดัชนี
?? ทำไมจึงเปลี่ยนสูตรจาก RA มาเป็น AR 1. สูตร RA ขาดคุณสมบัติการเปลี่ยนแปลงหน่วย หมายความว่า ต้องเปรียบเทียบด้วยหน่วยเดียวกันเท่านั้น 2. การเปลี่ยนแปลงราคาของ spec. ที่มีราคาสูง จะมีความสำคัญ มากกว่า spec. ที่มีราคาต่ำ ซึ่งจะมีแนวโน้มที่จะชี้นำดัชนี

18 8.การคัดเลือกสินค้าที่ใช้กับแต่ละวิธี มีหลักเกณฑ์อย่างไร


ดาวน์โหลด ppt ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google