ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ประชาคมอาเซียน
2
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกฉียงใต้ สิงหาคม 2510 : ปฏิญญากรุงเทพฯ
ความเป็นมา กรกฎาคม : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกฉียงใต้ สิงหาคม : ปฏิญญากรุงเทพฯ : ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 12 ครั้งที่ 13
3
ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 6. บรูไน เวียตนาม พม่า
สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ 6. บรูไน เวียตนาม พม่า 9. ลาว 10. กัมพูชา
4
ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ปฏิญญาอาเซียน:ปฏิญญากรุงเทพฯ ASEAN Declaration : Bangkok Declaration 8 สิงหาคม วัตถุประสงค์ ส่งเสริมความร่วมมือ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การบริหาร 2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรม
5
4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
วัตถุประสงค์ปฏิญญาอาเซียน 4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี 5. ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบการฝึกอบรม วิจัย ส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มประสิทธิภาพการเกษตร อุตสาหกรรม ขยายการค้า ปรับปรุงการขนส่ง คมนาคม เสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศภายนอก
6
Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ ในอาเซียน ฉบับที่ ปี 2546 Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ภายในปี 2563 ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Political Security Community (APSC)
7
Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง
ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือ ในอาเซียน ฉบับที่ ปี 2546 Declaration of ASEAN Concord II : Bali Concord II : เพื่อประกาศจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio - Cultural Community (ASCC)
8
ให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ASEAN Community ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2558
ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ ปี ที่เซบู ให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ASEAN Community ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2558 จัดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน รองรับภารกิจ พันธกิจ เป็นนิติบุคคล เป็นหลักการไปร่าง “กฎบัตรอาเซียน” (ASEAN Charter) ที่ทำหน้าที่ เป็น “ธรรมนูญ” การบริหารปกครอง กลุ่มประเทศอาเซียน
9
ผู้นำอาเซียนลงนามในกฎบัตรอาเซียน
ประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ ปี ที่สิงคโปร์ ผู้นำอาเซียนลงนามในกฎบัตรอาเซียน ทำให้อาเซียนเป็นองค์การที่มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง เคารพกฎกติกา ในการทำงานมากขึ้น เป็นนิติบุคคล เป็นองค์กรระหว่างรัฐบาล Intergovernmental Organization
10
1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Community - ASC
3 เสาหลัก 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน ASEAN Security Community - ASC 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community - AEC 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.