ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThiang Sukbunsung ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
สันติภาพที่อาเจะห์ พ.ต.ศรศักร ชูสวัสดิ์ (ผศ.ดร.) กองวิชาประวัติศาสตร์ สกศ.
2
หัวข้อการบรรยาย สถานการณ์ความมั่นคงในอินโดนีเซีย สันติภาพที่อาเจะห์
ภูมิหลัง การเจรจาและข้อตกลง บทบาทของไทย โอกาสที่จะเกิดสันติภาพถาวร
3
สถานการณ์ความมั่นคงในอินโดนีเซีย
อุดมการณ์แห่งชาติของอินโดนีเซีย 1945 เอกภาพในความหลากหลาย (Unity in Diversity) ความไม่มั่นคง
4
สาเหตุของความไม่มั่นคง
ความหลากหลาย: เกาะ ชนเผ่า ภาษา ลัทธิความเชื่อ มรดกของลัทธิล่าอาณานิคม: ลัทธิความเชื่อ รัฐเดี่ยว การเมืองเผด็จการสมัยซูฮาร์โต: การรวบอำนาจ การแย่งชิงทรัพยากร การรุกราน การปฏิวัติอิสลามในอิหร่าน 1979: การสร้างรัฐอิสลาม
5
ความหลากหลาย 13,000 เกาะ 360 ชนเผ่า 365 ภาษา
5 ลัทธิความเชื่อ (อิสลาม คริสต์ ฮินดู พุทธ และผี)
6
เขตความขัดแย้งในอินโดนีเซีย
ที่มา: BBC News
7
สถานการณ์ ปัญหาความขัดแย้งทางศาสสาคริสต์ – อิสลาม : สุลาเวซี โมลุกกะ
ปัญหาแบ่งแยกดินแดน: ติมอร์ตะวันออก ( ) สุมาตรา (1976 -ปัจจุบัน) ปาปัว (Irian Jaya) ( ปัจจุบัน) ปัญหาชนเผ่า: ดยัก-มาดูเรส ในกาลิมันตัน การก่อการร้าย: บาหลี จาการ์ตา
8
สันติภาพที่อาเจะห์ 9 ธ.ค การลงนามในสัญญาหยุดยิงระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เสรี ยุติความขัดแย้งที่ยาวนานกว่า 26 ปี มีผู้เสียชีวิตกว่า 12,000 คน
9
ที่มา: BBC News
11
ภูมิหลังของAceh จุดแรกของศาสนาอิสลาม (700)
การต่อสู้กับดัชท์ ( ) การต่อสู้กับระบอบสาธารณรัฐ 1950 : เพื่อเอกราช รอบแรก – Darul Islam (1950s) > เขตปกครองพิเศษ รอบสอง- GAM (1976 – ปัจจุบัน) > การลุกฮือ – ปราบปราม (1980s –1990s)
12
Gerakan Aceh Merdeka - Free Aceh Movement
ก่อตั้ง 1976 วัตถุประสงค์: เอกราช และรัฐอิสลาม หัวหน้า Malik Mahmud สาเหตุ เหตุผลทางประวัติศาสตร์ เหตุผลทางศาสนา เหตุผลทางเศรษฐกิจ
13
การเจรจา: อินโดนีเซีย - GAM
สถานที่ Henry Duant Centre เจนีวา บทบาท The Henry Duant Centre The Wise Men Gen. Anthony Zinni Budimir Loncar สุรินทร์ พิศสุวรรณ
14
สรุปข้อตกลง ทั้งสองฝ่ายหยุดยิงทันที
การเลือกตั้งเสรีในปี 2004 เพื่อจัดตั้งรัฐบาลปกครองตนเอง แต่ไม่ได้รับเอกราช รัฐบาลใหม่จากการเลือกตั้งมีสิทธิเก็บเงินได้จากน้ำมันและก๊าซ ร้อยละ 70 กบฎต้องวางอาวุธ สรุป: ปกครองตนเองและเลือกตั้งเสรี = การวางอาวุธของกบฏ
15
ทำไมจึงบรรลุข้อตกลงได้
รัฐบาลอินโดนีเซีย หลักเอกภาพ หลักประนีประนอม Gam ข้อเสนอที่ดีที่สุด - Forgotten War
16
บทบาทของนานาชาติ ไม่สนับสนุน GAM ไม่สนับสนุนการแยกอินโดนีเซีย
ผลักดันให้เกิดสันติภาพโดยเร็ว แลกกับการให้ความช่วยเหลือ แรงกดดันจากสหรัฐฯ
17
ตั้งคณะกรรมการความมั่นคงของอาเจะห์ มีประธานร่วม 3 ฝ่าย
การบังคับใช้ข้อตกลง ตั้งคณะกรรมการความมั่นคงของอาเจะห์ มีประธานร่วม 3 ฝ่าย ดูแลการปลดอาวุธ-การปฏิบัติตามข้อตกลง-การเลือกตั้ง ใช้กำลังคน 150 นายไม่ติดอาวุธ 3 ฝ่าย อินโดนีเซีย GAM ต่างชาติ (ไทย- ฟิลิปปินส์ ) ตั้งทีมตรวจสอบ 24 จุด 24 ทีม
18
บทบาทของไทย หนึ่งในคณะกรรมการร่วมดูแลการปลดอาวุธและการปฏิบัติตามข้อตกลง พลตรี ทนงศักดิ์ ตุวนันท์ เป็นประธานร่วม (3 คน) ส่งกำลังอีก 24 นาย
19
โอกาสที่จะมีสันติภาพถาวร
อินโดนีเซีย GAM นานาชาติ เพื่อเอกภาพ เพื่อเอกราช เพื่อความสงบ
20
Salamat – สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.