ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยUtumporn Singhapat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ทิศทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๕๕ โดย ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและและสิ่งแวดล้อม ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลแผนงาน/โครงการ ของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ : ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ วันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
2
ขอบเขตงาน Env.-Occ. โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (Occ.)
คือ การป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบชีพที่มีสาเหตุโดยตรงจากการทำงานและลักษณะงานที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น คนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับตะกั่ว อาจเกิดโรคพิษตะกั่ว เป็นต้น ทั้งนี้รวมถึงอุบัติเหตุจากการทำงานด้วย โรคและภัยสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม(Env.) คือ การป้องกันควบคุมโรคจากสิ่งแวดล้อมที่มีสาเหตุโดยตรงจากสภาพ หรือสิ่งแวดล้อมจนทำให้เกิดโรค และร่างกายมีความผิดปกติ เช่น ภาวะมลพิษในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค เช่นโรคพิษสารหนูใน อ.ร่อนพิบูลย์ ระบบทางเดินหายใจจากปัญหาหมอกควันในภาคเหนือ เป็นต้น
3
กลุ่มเป้าหมาย 2. กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ (37.04 ล้านคน) 1. กลุ่มผู้ได้รับ
แรงงานนอกระบบ 24.1 ล้านคน 1. กลุ่มผู้ได้รับ ผลกระทบ ต่อสุขภาพ จากสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม เกษตรกรรม 12.92 ล้านคน บริการ ประกันสังคม 8 ล้านคน ราชการ 1 ล้านคน
4
และสิ่งแวดล้อม ปี 2554 – 2558 (19 พค.54)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม ปี 2554 – 2558 (19 พค.54) ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม 1. ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคม ส่งเสริมการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการเพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน ส่งเสริมการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในชุมชน 2.ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยชุมชน พัฒนาระบบและติดตามประเมินผลการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ที่ครอบคลุมทั่วถึงทุกระดับ ส่งเสริมการสร้างแกนนำสนับสนุนการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพของชุมชน 3.ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการได้ด้วยตนเอง พัฒนาศักยภาพแกนนำในการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในชุมชน พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงาน /โครงการ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการระหว่างชุมชน ประชาชน 2. หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สนับสนุนการจัดทำแผนงาน หรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ ผลักดันนโยบาย และมาตรการ แนวทาง ให้เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พัฒนาหน่วยบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐาน 1. อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน โครงการร่วมกับท้องถิ่นและครือข่ายองค์กรชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการ และการจัดการทรัพยากร พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน 3. อสม./แกนนำชุมชน/คณะกรรมการกองทุน และประชาสังคม มีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน 4. องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการจัดการทรัพยากร ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรเอกชน องค์กรอิสระ ทั้งในและนอกประเทศ สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศ ในงานเฝ้าระวัง ป้องกันฯ ที่มีประสิทธิภาพ สร้างช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง ภาคี 1. สื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร พัฒนาช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย และมีประสิทธิผล 2. ระบบบริหารจัดการและการติดตามกำกับที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบและกลไกการพยากรณ์โรค การเฝ้าระวังโรคฯ และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนางานวิจัย มาตรฐาน มาตรการและวิธีการในงานเฝ้าระวังสุขภาพ พัฒนากลไกการจัดการทรัพยากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการกำกับติดตาม 3. บูรณาการงานกับหน่วยงานเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ สร้าง กลไกในการบูรณาการแผน ระบบ การเฝ้าระวัง พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ระหว่างเครือข่าย กระบวนการ 1. ระบบข้อมูล Env.Occ ที่มีประสิทธิภาพ สร้างระบบข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ พัฒนาบุคลากรให้สามารถจัดระบบข้อมูลด้าน Env.Occ พัฒนาฐานข้อมูลและประสานเครือข่ายในการใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์ 2. ปรับสมรรถนะของบุคลากรตามที่องค์กรกำหนด พัฒนาสมรรถนะหลักตามค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรให้มีความเชียวชาญในการดำเนินงานด้าน Env.occ สนับสนุนให้บุคลากรแสดงศักยภาพในการดำเนินงาน 3. องค์กรแห่งความผาสุก และประสานงานเครือข่ายครอบคลุมทุกระดับ สนับสนุนให้มีการประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกระดับ สร้างบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและสร้างความผาสุกในการปฏิบัติงาน พัฒนาคุณภาพองค์กรตามมาตรฐานที่กำหนด พื้นฐาน 4 4
5
จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2555 – 2556
ประชา ชน ฐาน พื้น ภาคี กระบวนการ กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553 ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ ด้านสุขภาพมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศการทำงานเป็นทีม มีความผาสุกในการปฏิบัติงาน และมีการประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุมทุกระดับ ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสาร/ระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร อปท.มีนโยบาย มาตรการ แนวทาง และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกัน การแก้ไขปัญหา หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดมีการดำเนินงานและสนับสนุนให้เกิดการประสานงานที่ดี ชุมชนสามารถสร้างและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงาน บุคลากรมีสมรรถนะและศักยภาพในการดำเนินงานตามที่องค์กรกำหนด ชุมชนสามารถเฝ้าระวังและจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพด้วยชุมชนเอง ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการได้ด้วยตนเอง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนางานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2555 – 2556 แก้ไข 7 มิย.54 ระบบบริหารจัดการและการกำกับติดตาม ที่มีประสิทธิภาพ
6
ปัญหาโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ
แผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของแรงงานนอกระบบและในระบบปี 2553 ผู้มีทำงาน 38.7 ล้านคน แรงงานนอกระบบ (เกษตรกร เพาะปลูก,ภาคผลิตรับงานไปทำที่บ้าน) ท่าทางการทำงานไม่ถูกต้อง ได้รับสารเคมีเป็นพิษ งานหนัก ปัญหาฝุ่นควัน กลิ่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เครื่องจักร เครื่องมือ ที่เป็นอันตราย สถานที่ทำงานไม่สะอาด ได้รับอันตรายต่อระบบหู/ระบบตา แรงงานในระบบ โรคจากการทำงาน : พิษตะกั่ว, เสียงดัง, ความร้อน, ความกดอากาศ, ติดเชื้อจากการทำงาน ฯลฯ โรคอื่นๆ ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำงาน : เจ็บป่วย บาดเจ็บ โรคผิวหนัง ฯลฯ นอกระบบ 24.1 ล้านคน ในระบบ 14.6 ล้านคน ที่มา สถิติกำลังแรงงาน ปี พ.ศ. 2553
7
พันธกิจ (กิจหรืองานที่ต้องทำให้บรรลุ)
วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพแรงงานไทย แรงงานไทย สุขภาพดี ปลอดภัย ภายใต้การดูแลของหน่วยงานภาครัฐ และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลุ่มผู้ใช้แรงงานด้วยกัน เพื่อนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน พันธกิจ (กิจหรืองานที่ต้องทำให้บรรลุ) 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. พัฒนาองค์ความรู้ 3. พัฒนาระบบบริการ (Service) : ครอบคลุม เข้าถึงได้ มีมาตรฐาน 4. สร้างเสริมความเข้มแข็ง ความร่วมมือเครือข่าย 5. ผลักดัน/สนับสนุนให้เกิดการบังคับใช้กฎหมาย 6. สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหา ร่วมกัน ทั้งนายจ้าง ลูกจ้าง แรงงาน ท้องถิ่น ชุมชน: จิตอาสา จิตสาธารณะ
8
@ ประเด็นปัญหาการดำเนินงาน
บริการภายใต้หลักประกันสุขภาพ จ่ายเมื่อเจ็บป่วย ไม่ครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน(การประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน) มีกฎหมาย แต่ขาดการบังคับใช้ที่มีประสิทธิภาพ การวินิจฉัยโรคโดยแพทย์ มีน้อย @ ความต้องการ & ความคาดหวัง สามารถเข้าถึงบริการอาชีวอนามัยได้สะดวก ได้รับบริการอาชีวอนามัยที่ได้มาตรฐาน หน่วยบริการสุขภาพมีศักยภาพในการให้บริการฯ (โดยเฉพาะการวินิจฉัยโรค) การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ สถานประกอบการ ลูกจ้าง แรงงาน NGO ชุมชน กลุ่มแรงงานมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง มีระบบเฝ้าระวังฯ ที่มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน
9
- พัฒนาเครือข่ายการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการสาธารณสุข
จัดลำดับดำเนินการ ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพแรงงานไทย ระยะ 5 ปี (พ.ศ ) มีระบบการเฝ้าระวังสุขภาพจากการทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของสถานประกอบการ/ แรงงาน/ องค์กรแรงงาน 2. หน่วยบริการสุขภาพสามารถให้บริการด้านสุขภาพแก่แรงงานได้ตามมาตรฐาน ยกระดับการจัดบริการอาชีวอนามัยในหน่วยบริการสุขภาพภาครัฐทุกระดับ(รพศ/รพท/รพช. รพ.สต. )ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน * มีแม่ข่ายระดับจังหวัดในการสนับสนุนการดูแลสุขภาพแรงงานไทยที่เข้มแข็ง (เฝ้าระวัง,การจัดบริการ,การส่งต่อ) - พัฒนาเครือข่ายการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการสาธารณสุข 3. มีชุดสิทธิประโยชน์ที่จำเป็นสำหรับแรงงานไทย
10
แผนงาน/โครงการสำคัญในปีงบฯ 2555
โครงการเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษาฯ : เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส 2. โครงการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพศิลปหัตถกรรมในศูนย์ศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ 3. งานสนองนโยบาย รมต.สธ. : โครงการแท็กซี่ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ(Healthy Taxi) 4. National Program 4.1 โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 4.2 โรคและภัยสุขภาพจากการทำงานของบุคลากรในสถานพยาบาล (Health Care Worker : HCW)
11
เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส (เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษาฯ)
ต่อเนื่องจากปีงบฯ เกษตรกรปลอดโรค : กรมควบคุมโรค @ ผู้บริโภคปลอดภัย : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ @ สมุนไพรล้างพิษ : กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ @ กายจิตผ่องใส : กรมสุขภาพจิต เป้าหมาย : 840 ตำบล, อบรม อสม. 8,400 คน, ประเมินความเสี่ยงฯ เกษตรกร 840,000 คน
12
รณรงค์ “เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส”
ปี 2554 รพ.สต. จัดบริการดูแลสุขภาพเกษตรกร อย่างครบวงจร ซักประวัติเพื่อค้นหาผู้เสี่ยง ตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช ให้คำแนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย ขณะทำงานกับสารเคมี รายงานข้อมูลตามระบบที่กำหนด รณรงค์ “เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส”
13
ยุทธศาสตร์ / มาตรการหลัก
เป้าหมายหลัก ปี เกษตรกรสามารถเข้าถึงบริการ “คลินิกสุขภาพเกษตรกร” ในรพ.สต. 100% ภายในปี ผลักดันนโยบายห้ามนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เป็นพิษร้ายแรง ยุทธศาสตร์ / มาตรการหลัก 1. คลินิกสุขภาพเกษตรกร : ให้บริการอาชีวอนามัยได้ตามแนวทางที่กำหนด (ป้องกัน ควบคุมโรคในกลุ่มเกษตรกร ครอบคลุมทุกปัจจัยเสี่ยง เช่น สารเคมี ท่าทางการทำงาน อุบัติเหตุ สุขภาพจิต ฯลฯ) ไม่บังคับรูปแบบ เน้นมีการให้บริการ อาจตั้งเป็นคลินิกแยก หรือบูรณาการกับบริการอื่นๆ ที่มีอยู่ * รพ.สต. ที่เข้าโครงการเกษตรกรปลอดโรคฯ ในปี 54 ทั้งหมด (ประมาณ 1,100 แห่ง) อำเภอที่ไม่มี รพ.สต.เข้าโครงการฯ ปี 54 ในปี 55 ให้มีอย่างน้อยอำเภอละ 1 แห่ง * รพช. เชื่อมโยง/ส่งต่อกับ รพ.สต ในพื้นที่ * รพศ./รพท. ตามโครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตร์ (คลินิกโรคจากการทำงาน)
14
ยุทธศาสตร์ / มาตรการหลัก
2. ผลักดันนโยบายห้ามนำเข้าสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เป็นพิษร้ายแรง : พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ > จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย > ผ่านคณะกรรมการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ------> สร้างเครือข่าย/ แนวร่วม ------> สื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างกระแส 3. สื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างกระแส “คลินิกสุขภาพเกษตรกร” ให้กลุ่มเกษตรกรรับทราบและช่วยผลักดัน 4. เตรียมความพร้อมตอบโต้ฯ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 5. พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ
15
โครงการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพศิลปหัตถกรรมในศูนย์ศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน เพื่อให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการทำงานแก่ครูฝึก/แกนนำผู้ประกอบอาชีพ เพื่อพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการดูแลสุขภาพ กับหน่วยงาน สธ.ในพื้นที่ตั้งศูนย์ฯ เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร
16
กลุ่มเป้าหมาย ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จ.อยุธยา [สำนักฯ และ สคร. 1] ศูนย์ศิลปาชีพ จังหวัดสกลนคร 3 แห่ง (สคร.6) ศูนย์ศิลปาชีพ จังหวัดลำปาง 3 แห่ง (สคร.10) ศูนย์ศิลปาชีพ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1 แห่ง (สคร.10) ศูนย์ศิลปาชีพ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3 แห่ง (สคร.11) ศูนย์ศิลปาชีพ จังหวัดนราธิวาส 1 แห่ง (สคร.12)
17
จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านอาชีวอนามัย
การดำเนินงาน พัฒนางานอาชีวอนามัยในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร (สำนักฯ และ สคร.1) จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านอาชีวอนามัย จัดอบรมให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยแก่ครูฝึก/แกนนำนักเรียน ติดตามสนับสนุน สื่อสาร ถ่ายทอด และให้ความรู้ แก่แกนนำและผู้ประกอบอาชีพของศูนย์ศิลปาชีพ (สำนักฯ และ สคร.1,6,10,11 และ 12) สนับสนุนติดตามการดำเนินงาน ในพื้นที่รับผิดชอบ(สำนักฯ และ สคร.1,6,10,11 และ 12) ประเมินผล และรายงาน(สำนักฯ และ สคร.1,6,10,11 และ 12)
18
โครงการแท็กซี่ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ(Healthy Taxi)
สนองนโยบาย รมต.สธ.นายวิทยา บูรณะศิริ หลักการ/เหตุผล - แท็กซี่มีประมาณ 94,000 คัน - ข้อร้องเรียน : ปฏิเสธ, กิริยาไม่สุภาพ, ขับรถประมาท, อุปกรณ์ไม่แข็งแรง, สูบบุหรี่รบกวน - ปัญหาสุขภาพ : เบาหวาน, ความดัน, ไม่มีเวลาดูแลสุขภาพ/ออกกำลังกาย, พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพต่ำทั้งที่มีความรู้ - ความคาดหวังผู้ใช้บริการ : แท็กซี่สะอาด ขับขี่ปลอดภัย - ความคาดหวังผู้ขับแท็กซี่ : นโยบายสาธารณะส่งเสริมสุขภาพ, สร้างความร่วมมือชุมชนเข้มแข็ง, จัดการสิ่งแวดล้อม, สร้างเสริมทักษะส่งเสริมสุขภาพ, มีบริการดูแลสุขภาพเชิงรุก
19
ผู้ขับแท็กซี่เขต กทม.และปริมณฑล ที่สมัครใจ 8,400 คน/คัน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้ขับให้มีความรู้และปฏิบัติตามาตรฐาน Healthy Taxi (ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพของผู้ขับ ตามความเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย ผู้ขับแท็กซี่เขต กทม.และปริมณฑล ที่สมัครใจ 8,400 คน/คัน
20
การดำเนินงาน เปิดตัวโครงการ (Kick Off) MOU กระทรวงคมนาคม, สาธารณสุข, สนง.ตำรวจแห่งชาติ, กทม. จัดทำมาตรฐาน กระบวนการประเมินและมอบเครื่องหมาย ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ให้ประชาชนใช้บริการ Healthy Taxi ด้านอาชีวอนามัย : จัดอบรม ให้ความรู้ ตรวจสุขภาพเบื้องต้นคนขับ และตรวจสภาพความปลอดภัยของรถ พัฒนาอาสาสมัครแท็กซี่ฉุกเฉิน(อ.ท.ฉ.) สร้างเครือข่าย Healthy Taxi ติดตาม ประเมินผล และรายงาน
21
โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
ปัญหาเดิม : การปนเปื้อนสารโลหะหนักในน้ำ (แคดเมี่ยม, สารหนู, ตะกั่ว, เหมืองทอง) มลพิษในอากาศ (หมอกควันภาคเหนือ/ ใต้) มลพิษจากภาคอุตสาหกรรม ขยะพิษ, ป่าพรุ ฯลฯ ปัญหาใหม่ : กิจการพลังงาน(โรงไฟฟ้า) ภาวะโลกร้อน ฯลฯ
22
ปัญหาเดิม /พื้นที่เดิม
ยุทธศาสตร์/ มาตรการ ปัญหาเดิม /พื้นที่เดิม สคร. - พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ในพื้นที่ปัญหาให้บริการเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (รพ.สต., รพช., รพศ/รพท.) - ข้อมูลอ้างอิง/แนวทาง/สถานการณ์ ตามปัญหาในพื้นที่ - สื่อสารความเสี่ยง สร้างกระแส - พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ ในรพ.สต. และ อปท. สำนักฯ - พัฒนาแนวทาง/คู่มือจัดบริการเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม - จัดทำข้อมูลสถานการณ์ตามประเด็นปัญหา - จัดทำข้อเสนอนโยบาย - สื่อสารความเสี่ยง สร้างกระแสให้เกิดการเฝ้าระวัง จัดการปัญหา - พัฒนากลไกตอบโต้ฯ (สารเคมี)
23
ปัญหาเดิม /พื้นที่ใหม่
ปัญหาเดิม /พื้นที่ใหม่ สำนักฯ - ศึกษาสถานการณ์ ชี้เป้าหมาย/พื้นที่ - ถอดบทเรียนจากประเด็นปัญหาเดิม/พื้นที่เดิม มาถ่ายทอดการจัดบริการเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ใหม่ - จัดทำข้อมูลสถานการณ์ - จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย สคร. - พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ในพื้นที่ปัญหา ให้บริการเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (รพ.สต., รพช., รพศ/รพท.) - ข้อมูลอ้างอิง/แนวทาง/สถานการณ์ ตาม ปัญหาในพื้นที่ - สื่อสารความเสี่ยง สร้างกระแส - พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพ ในรพ.สต. และ อปท. ปัญหาใหม่ /พื้นที่ใหม่ สำนักฯ - ศึกษาสถานการณ์ ชี้เป้าหมาย/พื้นที่ พัฒนารูปแบบแนวทางร่วมกับ สคร. - จัดทำข้อเสนอนโยบาย พยากรณ์ปัญหา/โรคและภัย - สื่อสารความเสี่ยง สร้างกระแส ให้เกิด ความตระหนัก ป้องกันก่อนเกิดปัญหา
24
โรคและภัยสุขภาพจากการทำงานของบุคลากรใน
สถานพยาบาล (Health Care Worker : HCW) : สนับสนุนให้รพ.มีการประเมินความเสี่ยงฯ และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด... * การดูแลสุขภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข * การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหา * การพัฒนาทักษะบุคลากรฯ ให้สามารถให้บริการ อาชีวเวชศาสตร์ และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินผลการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ระดับ 1 ขึ้นไป ร้อยละ 95 ภายในปี 55
25
ยุทธศาสตร์/ มาตรการ สำนักฯ - บูณาการเกณฑ์ตรวจประเมินฯ กับ กรมอนามัย - พัฒนาศักยภาพแม่ข่ายระดับเขต / สคร. - ผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบาย ในการป้องกัน ควบคุมโรคและภัย/ความเสี่ยงที่สำคัญ ใน HCW (วัณโรค,บาดเจ็บ, กล้ามเนื้อ/กระดูก) - บูรณาการการจัดการแก้ไขปัญหาครอบคลุม ทุกความเสี่ยง(เบาหวาน, ความดัน) สคร. - พัฒนาศักยภาพ รพ.แม่ข่ายระดับจังหวัด - ตรวจประเมิน รพ.ในพื้นที่ โดยบูรณาการ กับ กรมอนามัย - สนับสนุนการจัดการแก้ไขปัญหาครอบคลุม ทุกความเสี่ยง(เบาหวาน, ความดัน)
26
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ประเด็น คลินิคสุขภาพเกษตรกรรมในหน่วยบริการสาธารณสุข การดูแลสุขภาพจากการทำงานของบุคลากรในสถานพยาบาล พัฒนาเครือข่าย สคร.ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กลไก ระดับประเทศ : ผ่านเวทีคณะกรรมการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ระดับพื้นที่ : ผ่านเวทีคณะกรรมการพัฒนางานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ระดับเขต การลงนามความร่วมมือระหว่างกรมควบคุมโรค และ กรมสนับสนุนบริการ วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาและผลักดันยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม - เพื่อศึกษาทบทวน ข้อมูลสถานการณ์ วิชาการ ในการนำมาจัดทำเป็น แนวทาง มาตรการ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงาน โดย ผ่านเวทีคณะกรรมการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.