ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง
2
มองภาพนี้... แล้วเห็นอะไร?
4
มองภาพนี้... แล้วเห็นอะไร?
6
มองภาพนี้... แล้วเห็นอะไร?
7
เวลา
8
การโหยหาของคนในสังคมยุคปัจจุบัน/อนาคต
“เมื่อโลกหมุนกลับ” “คืนสู่ธรรมชาติ” * สุขภาพ (ชีวภาพ ปลอดสาร การกิน การอยู่ การทำงาน) * การศึกษา (ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ความเข้าใจโลก) * การพักผ่อนหย่อนใจ (การท่องเที่ยว ดนตรี กีฬา) * ศิลปวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น) * จิตวิญญาณ ( สมาธิ ความเรียบง่าย ความหมายของชีวิต)
9
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับประชาชนในทุกระดับ ทั้ง ระดับบุคคล ชุมชนสังคม และประเทศโดยรวม การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้นั้น ต้องเริ่มต้นที่ระดับบุคคลก่อนเป็นอันดับแรก โดยบุคคลแต่ละคนสามารถนำหลักปรัชญาฯไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ของการดำเนินชีวิตได้ทั้งสิ้น ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องการใช้จ่ายประจำวัน ในแต่ละเดือน ในภาพเป็นภาพแสดงจำลองแผนการใช้จ่ายของนายมาร์ติน แกนหลักคนสำคัญในการพัฒนาของชุมชนคำปลาหลายในภาคอีสาน พบว่า ก่อนที่จะวางแผนการใช้เงิน นายมาร์ตินต้องมานั่งทบทวนและสำรวจดูก่อนว่า ในชีวิตของตนนั้น ตนมีรายรับจากด้านไหนบ้าง และเสียค่าใช้จ่ายไปในด้านใดบ้าง ดังนั้น เพื่อให้มีรายได้ที่สมดุล ให้ตนสามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาฯ ได้อย่างสบายใจนั้น นายมาร์ตินต้องเริ่มมานั่งทบทวนแล้วว่า จะสามารถลดรายจ่ายในกิจกรรมใดได้บ้าง เพื่อตนจะได้มีเงินเก็บเหลือเยอะขึ้น ก่อนมุ่งหาวิธีการสร้างรายได้ที่สุจริตในด้านอื่นๆ ต่อไป หากทำได้ดังนี้ นายมาร์ตินก็จะสามารถอยู่ได้อย่างพอเพียงและพึ่งตนเองได้ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญเบื้องต้นของการดำเนินชีวตตามหลักปรัชญาฯตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง พอประมาณ : รายจ่ายสมดุลกับรายรับ มีเหตุมีผล : ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล /มีความจำเป็น /ไม่ใช้สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุ้มค่าประหยัด มีภูมิคุ้มกัน : มีเงินออม /แบ่งปันผู้อื่น /ทำบุญ ความรู้คู่คุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง
10
ปัญหาที่จะเกิดกับครอบครัว
หนี้สินทิศทางที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ขาดวินัยการใช้จ่ายเงิน
11
ท่านพอใจจะอยู่อย่างไร?
จะอยู่อย่างโดดเดี่ยวเดียวดาย หรือจะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
13
แล้วเราจะไปทางไหนกันดี.
ชะตาชีวิตจะเป็นอย่างไรหนอ ?
14
“ เราคือคนกำหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ” มิใช่ฟ้าดิน
“ เราคือคนกำหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ” มิใช่ฟ้าดิน ...เพียงแต่ต้องปรับตัวเองให้สามารถรับ ความคิดใหม่ๆ / ความคิดอันแตกต่างให้ได้.
15
เมื่อไหร่? คุณถึงจะรู้ว่าพอ
ซื้อรถยนต์ ทำร้านอาหาร ปลูกผัก พอประมาณ -มีหนี้สินเท่าไร เงินเหลือเท่าไร -ซื้อไปทำไม จำเป็นแค่ไหน -มีทักษะ ความรู้เรื่องอาหาร ตลาด -การมีมนุษย์สัมพันธ์ -เงินทุน วัตถุดิบ สถานที่ อุปกรณ์ -ที่ดิน แรงงาน -มีความรู้เรื่องดิน น้ำ พันธุ์พืช -เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ มีเหตุผล -สามารถจ่ายได้ทุกงวด -จำเป็นต้องใช้ประโยชน์หลายอย่าง -มีความชำนาญ -ทำเลดี วัตถุดิบมีในชุมชน ทุนพร้อม -ดินดี น้ำดี มีทุน -ทำกิน เหลือแจก เหลือขาย มีภูมิคุ้มกัน -มีความรู้เรื่องรถ ซ่อมเองได้ -เกิดรายได้เพิ่มขึ้น -มีมาตรฐาน -วัตถุดิบส่วนใหญ่ทำเอง -พันธุ์ไม้ท้องถิ่น -ขยายพันธุ์เอง -ฟื้นฟูทรัพยากรฯ
16
การออกแบบชีวิต /ทางเลือกที่มีความหมาย
1. เห็นอย่างไร? ทำอย่างนั้น ; เราจะไม่ทำอย่างคนเป็นผู้ใหญ่ /เด็ก 2. เวลา ; เราจะไม่ทำอย่างผู้เป็นพ่อ / อย่าฆ่าเวลา เวลาจะฆ่าคุณ 3. รถติดก็ดูดี ; เราจะทำตัวเป็นอย่างผู้หญิง ทำอย่างผู้ชาย 4. โกนหนวด ; เราจะทำตัวอย่างผู้เป็นพ่อ 5. ความรักของแสงดาว ; เราจะทำตนเป็นอย่างชายหนุ่ม /แสงดาว 6. ชีวิตที่ไม่ท้อ ; เราจะทำตนเป็นอย่างพี่ชาย /น้องสาว 7. เราจะไม่ทำตนเป็นอย่างนักวิ่ง
17
เพื่อน มีเพื่อนดี มีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา
มีเพื่อนดี มีหนึ่งถึงจะน้อย ดีกว่าร้อยเพื่อนคิดริษยา เหมือนเกลือดีมีนิดหน่อยด้อยราคา ยังมีค่า กว่าน้ำเค็ม เต็มทะเล
18
ทางสายกลาง แคบนัก มักคับ ขยับยาก กว้างนัก มักมาก ไม่มีสม
แคบนัก มักคับ ขยับยาก กว้างนัก มักมาก ไม่มีสม สูงนัก มักลิ่ว ปลิวตามลม ต่ำนัก มักจม ลงบาดาล
19
ได้รับความขอบคุณจาก..อาจารย์อ้อ สุธาสินี
ทุกอย่างอยู่ที่ใจ..... การให้ที่ยิ่งใหญ่ คือ...การให้อภัย. ได้รับความขอบคุณจาก..อาจารย์อ้อ สุธาสินี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.