งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การติดตามผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ผ่านระบบ Web Conference) วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน การติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552

2 ดำเนินงานได้ 877หมู่บ้าน สัจจะสะสมร้อยละ12
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินงานได้ 877หมู่บ้าน สัจจะสะสมร้อยละ12 น้ำหนักร้อยละ 4 5. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 5 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 3 3. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 877 หมู่บ้าน (877อำเภอ) 2. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 770 หมู่บ้าน(770อำเภอ) น้ำหนักร้อยละ 4 กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 525 หมู่บ้าน (525อำเภอ)

3 ดำเนินการได้ 5,500 กลุ่ม ร้อยละ 30.17 ร้อยละ 30
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ น้ำหนัก: ร้อยละ 3 คำอธิบาย:  กลุ่มผู้ผลิตชุมชนหมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ยกเว้น กทม.) จำนวนทั้งสิ้น 18,230 กลุ่ม  การบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนสามารถบรรลุเป้าหมายเชิงรายได้ตามแผนธุรกิจ คือ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีการดำเนินกิจการตามแผนธุรกิจและมีรายได้คุ้มทุน  รายได้คุ้มทุน หมายถึง รายได้รวมเท่าต้นทุนรวมพอดี ดำเนินการได้ 5,500 กลุ่ม ร้อยละ 30.17 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2553 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 30 1 2 3 4 5 - ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีแผนธุรกิจ น้ำหนักร้อยละ 2.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมให้กลุ่มผู้ผลิตชุมชนต้นแบบ ซึ่งหมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่มีแผนธุรกิจในปี 2551 จำนวน 8,030 กลุ่ม สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ และมีรายได้คุ้มทุน จำนวน 4,046 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 50.38 ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน - 3,020 ร้อยละ 20 ร้อยละ 22.5 ร้อยละ 25 ร้อยละ 27.5 ร้อยละ 30 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มผู้ผลิตชุมชนในปี 2553 จำนวน 18,230 กลุ่ม

4 ดำเนินงานได้ 75 แห่ง 75 จังหวัด
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ดำเนินงานได้ 75 แห่ง 75 จังหวัด น้ำหนักร้อยละ 2 5. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ได้รับประกาศรับรองการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน โดยต้องมีธนาคารออมสินหรือ ธ.ก.ส. ที่มีสาขาในจังหวัดให้การรับรอง ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. มีการประเมินผลการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีคณะทำงาน ประเมิน และจะต้องมีผู้ประเมินภายนอก(Third Party)ร่วมประเมิน ด้วย 3. มีการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตามเกณฑ์ครบ 75 จังหวัด 75 แห่ง 2. มีการดำเนินงานในระดับที่1ครบถ้วนและผู้นำกองทุนชุมชนได้รับ การพัฒนาศักยภาพโดยผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 น้ำหนักร้อยละ 4 กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน มีคณะทำงานสนับสนุนการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุน ชุมชนระดับจังหวัด75จังหวัด 75 คณะและคณทำงานฯระดับอำเภอ 75อำเภอ 75 คณะ

5 ดำเนินการได้ 3,921 กลุ่ม ร้อยละ 40.83 ร้อยละ 40
ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการยกระดับจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน ด้วยการออมเงินแล้วนำมาสะสมรวมกัน เป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อเป็นทุนสำหรับสมาชิกกู้ยืมไปใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพ หรือสวัสดิการของครอบครัว  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 2 มีคะแนน คะแนน ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 6 ตัวขึ้นไป  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 3 มีคะแนน 77 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 8 ตัวขึ้นไป ดำเนินการได้ 3,921 กลุ่ม ร้อยละ 40.83 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2553 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 40 1 2 3 4 5 3,069 ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่มีการยกระดับจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 กรมการพัฒนาชุมชนได้ดำเนินการให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 2 คือกลุ่มที่มีผลการดำเนินงานระดับพอใช้ มีการยกระดับเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 หรือกลุ่มที่มีผลการดำเนินงานในระดับดี สามารถดำเนินการได้จำนวนทั้งสิ้น 3,876 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ จากกลุ่มออมทรัพย์ระดับ 2 ทั้งหมด 11,984 กลุ่ม ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 3,917 3,876 ร้อยละ 24 ร้อยละ 28 ร้อยละ 32 ร้อยละ 36 ร้อยละ 40 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 2 ทั้งหมด 9,602 กลุ่ม

6 ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
น้ำหนักร้อยละ 3 ดำเนินการได้ 2,519 กลุ่มและรายได้.....บาท 5. มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมาย รวมทั้งหมด เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่า การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาจาก KBOจังหวัด ได้ร้อยละ50 ในภาพรวม (2,125 กลุ่ม) 3. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBOจังหวัด ได้ ร้อยละ 35 ในภาพรวม (1,488กลุ่ม) 2. กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ กลุ่ม(4,250กลุ่ม) ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายที่มีความต้องการ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละจังหวัด(ร้อยละ 20 ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนฯหรือ4,250กลุ่ม

7 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชน หมายถึง ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างน้อย 5 ใน 7 กิจกรรม ได้แก่ 1) การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช.2ค 2) การจัดทำแผนชุมชน 3) การจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4) การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย 6) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรมบังคับ 1-4 กิจกรรมที่ 5-7 เลือกอีกอย่างน้อย 1 กิจกรรม ดำเนินการได้ 11,021 คน ร้อยละ 86.30 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2552 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 85 1 2 3 4 5 - ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนตามเกณฑ์ที่กำหนด กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้นำ อช. สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมได้อย่างน้อย 5 กิจกรรม จาก 7 กิจกรรม ดังต่อไปนี้คือ 1. การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค 2. การจัดทำแผนชุมชน 3. ศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4. การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย 5. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกิจกรรมที่ เป็นกิจกรรมภาคบังคับ ทั้งนี้ ผู้นำ อช.ที่สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมตามเกณฑ์ดังกล่าวได้ทั้งสิ้น 8,341 คน คิดเป็นร้อยละ จากจำนวนผู้นำ อช.ทั้งหมด 12,770 คน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 50.67 65.31 ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนผู้นำ อช.ที่ได้รับคำสั่งแต่งตั้งจากจังหวัดให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ ปี ทั้งหมด 12,770 คน

8 ได้มาตรฐาน 11,165แผนและได้งบประมาณ9,947แผน ร้อยละ89.09
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของแผนชุมชนที่ผ่าน การรับรองมาตรฐาน ดำเนินการได้ ได้มาตรฐาน 11,165แผนและได้งบประมาณ9,947แผน ร้อยละ89.09 น้ำหนักร้อยละ 2 5.ร้อยละ60ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(6,240) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย 1 กิจกรรม/โครงการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ร้อยละ50ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(5,184) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย1กิจกรรม/โครงการ 3. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(10,367) 2. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(9,675) ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน (8,984)

9 ตัวชี้วัดที่ 3.1.5ระดับความสำเร็จของหมู่บ้านที่มีการปรับปรุง
การนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ดำเนินการได้ 2,367 หมู่บ้าน น้ำหนักร้อยละ 3 5.หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ในระดับคะแนน4จัดทำข้อมูลเด่นที่ แสดงเอกลักษณ์ของหมู่บ้านตามเกณฑ์ที่กำหนด อย่างน้อย 1 ประเภท (1,316หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. หมู่บ้านที่มีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ในระดับ3คะแนนและมีรูปภาพกิจกรรม เผยแพร่ทางเว็บไซต์ไม่น้อยกว่าร้อยละ50(1,316หมู่บ้าน) 3.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ครบ ตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ)ร้อยละ100(2,631) 2.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ ร้อยละ90(2,368) ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 1.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ) ร้อยละ80 (2,105หมู่บ้าน)

10 ฝากจากท่านรอง ฯ พิสันติ์
จังหวัดควรให้ความสนใจในฐานข้อมูลของแต่ละตัวชี้วัด ฝากกลุ่มสารสนเทศ ฯ ทำระบบฐานข้อมูลให้ชัดเจน ตรวจสอบ เตรียมหลักฐาน ให้พร้อมตรวจ ฯ จังหวัดซักซ้อม กลุ่มเป้าหมายควรรู้ตัวด้วย เพื่อเตรียมความพร้อม สุ่มตรวจเรื่องความพึงพอใจ ฯ จาก สนง.สถิติ

11 ขอขอบคุณ ขอบพระคุณค่ะ
กรมการพัฒนาชุมชนขอพระขอบคุณคณะติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการเป็นสูงมา ณ โอกาสนี้ และกรมการพัฒนาชุมชนพร้อมรับข้อเสนอแนะที่จะนำไปปรับปรุงการปฏิบัติราชการให้บรรลุสัมฤทธิผลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนต่อไป


ดาวน์โหลด ppt วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google