ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhematin Suprija ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการทรัพย์สิน
กฎหมาย ปปง. : กับ การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม (ชุดบรรยาย นอภ.) โดย นายพนพภณษฎ์ ทองคำ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการทรัพย์สิน สำนักงาน ปปง.
2
หัวข้อในการบรรยาย การฟอกเงินคืออะไร 2. ที่มา เจตนารมณ์ และมาตรการ
ของกฎหมาย ปปง. 3. กระบวนการดำเนินคดีทรัพย์สิน ตามกฎหมาย ปปง. 4. การเกี่ยวข้องกับกฎหมาย ปปง. ของ นอภ.
3
1.การฟอกเงินคืออะไร ?
4
การฟอกเงิน :(MONEY LAUNDERING)
หมายถึง การนำเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด มาดำเนินการอย่างใดๆ เพื่อให้ดูเสมือนว่า เงินหรือทรัพย์นั้นได้มา โดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือ ได้มาโดยสุจริต หรือ การทำเงินหรือทรัพย์สินที่สกปรกให้ดูเสมือนเป็นเงินหรือทรัพย์สินที่สะอาด
5
ขั้นตอนการฟอกเงิน Money Laundering Process การยักย้าย (Placement)
การปกปิด (Layering) การนำเข้ามาใช้ (Integration) ทั้งนี้-เพื่อป้องกันการถูกตรวจสอบ -เพื่อทำให้ยากแก่การตรวจสอบ และ -เพื่อให้ดูเสมือนว่าได้มาโดยชอบ
6
การกระทำที่เป็นการฟอกเงิน (MONEY LAUNDERING)
เก็บ ฝาก ซุกซ่อน ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนให้ จำนำ จำนอง ลงทุน ค้าขาย ทำธุรกิจ ห้างหุ้นส่วน บริษัท ลงทุน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชย- กรรม การขนส่ง ฯลฯ อื่นๆ
7
ภาพตัวอย่างการฟอกเงิน
8
ผู้ใด องค์ประกอบความผิดฐาน ฟอกเงิน ซึ่งทรัพย์สิน ที่เกี่ยวกับการ
กระทำความผิด มูลฐาน กระทำด้วย ประการใดๆ โดยเจตนา ผู้ใด -โอน รับโอน เปลี่ยนสภาพฯ เพื่อซุกซ่อนปกปิดแหล่งที่มาฯ หรือ -กระทำการใดๆ เพื่อปกปิด อำพราง ลักษณะที่แท้จริง การได้มา แหล่งที่ตั้ง การโอน การจำหน่าย หรือการได้สิทธิ์ใดๆ -ต้องระวางโทษจำคุก ๑-๑๐ ปี หรือ ปรับตั้งแต่ ๒ หมื่นบาท ถึง ๒ แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา ๕)
9
2.ที่มา เจตนารมณ์ และมาตรการ
ของกฎหมาย ปปง.
10
*มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งประชาชาติ ปี ค.ศ.1988
ความเป็นมาของกฎหมาย ปปง. *มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งประชาชาติ ปี ค.ศ.1988 1.ปราบปรามยาเสพติด 2.ควบคุมเงินฯที่ได้มาจากการกระทำผิด *การดำเนินการของประเทศไทย 1.กฎหมายมาตรการปราบปราม ยาเสพติด ปี พ.ศ.2534 2.กฎหมาย ปปง.ปี พ.ศ.2542
11
เจตนารมณ์ของกฎหมาย ปปง.
เจตนารมณ์ของกฎหมาย ปปง. ปัจจุบันมีการนำเงิน หรือทรัพย์สินฯ มาทำการฟอกเงิน เพื่อเป็นการตัดวงจร อาชญากรรมจึงให้มี กฎหมาย ปปง. กฎหมายที่ใช้อยู่ ไม่ได้ผล นำเงินนั้นไปกระทำ ความผิดขึ้นอีก
12
การกระทำความผิดทุจริต
ภาพตัวอย่างเงินสด ที่ยึดได้ใน การกระทำความผิดทุจริต ที่ กรุงเทพฯ
14
ผังแสดงการตรวจสอบทรัพย์สิน
มีประวัติกระทำ ความผิดทุจริต เมื่อปี 2535 นาย ข. ได้เงินไป 10 กว่าล้านบาท นาย ข.ซุกซ่อน เงินดังกล่าวไว้ ที่บ้านพัก เมื่อปี สายลับแจ้ง สำนักงาน ปปง. คดีแพ่งยึดทรัพย์สิน แจ้ง พงส.ดำเนิน คดี กับนาย ข. คดีอาญาความผิดฐานฟอกเงิน
15
มาตรการการของกฎหมาย ปปง.
ประกอบด้วย 2 มาตรการ มาตรการทางอาญา กำหนดให้การกระทำ ความผิดฐานฟอกเงิน เป็นความผิดอาญา(ม.5) เป็นการนำตัวผู้กระทำ ผิดฐานฟอกเงินมาลง โทษทางอาญาตาม ปอ. ม.18 มาตรการทางแพ่ง กำหนดให้ทรัพย์สินที่ เกี่ยวกับการกระทำความ ผิดตกเป็นของแผ่นดิน เป็นการดำเนินการกับ ตัวทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการ กระทำผิดมิใช่กับตัวบุคคล (PROPERTY IN REM)
16
บ่อเกิดความผิดฐานฟอกเงิน
มูลฐาน ความผิด ฐานฟอกเงิน ความผิด เกี่ยวกับทรัพย์สิน
17
องค์ประกอบความผิดเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ได้ไปซึ่ง ทรัพย์สิน ที่เกี่ยวกับ การกระทำ ความผิดฯ ความผิด มูลฐาน และ กระทำ ผู้ใด ยึด ครอบครอง ทรัพย์สิน ที่เกี่ยวกับ การกระทำ ความผิดฯ ตก แผ่นดิน ยึด
18
3. กระบวนการดำเนินคดีทรัพย์สินให้ตกเป็นของแผ่นดิน ตามกฎหมาย ปปง.
19
หลักการดำเนินคดีทรัพย์สิน
ต้องมีข้อมูล บุคคลเป้าหมายที่จะ ดำเนินคดี 1 2 ต้องมีข้อมูล การกระทำผิด มูลฐานหรือเกี่ยว ข้องสัมพันธ์ฯ ต้องมีข้อมูล ทรัพย์สินที่ เกี่ยวกับการ กระทำผิดฯ 3
20
ขั้นตอนที่ 1 การสืบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน
21
หลักฐานทางบุคคลเป้าหมายที่จะ
1 การสืบค้นหา หลักฐานทางบุคคลเป้าหมายที่จะ ดำเนินคดี ชื่อ สกุล เพศ อายุ ที่อยู่ ที่เกิด ที่ตาย สถานะครอบครัว ฐานะ อาชีพ รายได้ การเสียภาษี ญาติ เพื่อน คนใกล้ชิด ผู้ที่ติดต่อสัมพันธ์ โทรศัพท์ อีเมล
22
หลักฐานการกระทำผิดมูลฐานหรือ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้
2 การสืบค้นหา หลักฐานการกระทำผิดมูลฐานหรือ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ กระทำผิดฯ หลักฐานความผิดมูลฐาน 1. คดีที่ศาลตัดสินแล้ว 2. คดีที่อยู่ระหว่างการสอบสวน ของเจ้าหน้าที่ หรือ 3. มีการกระทำความผิดมูลฐานเกิดขึ้นแต่ยังไม่ได้ดำเนินคดี
23
ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
1 9 ยาเสพติด การพนัน 2 เพศ 8 ความผิด มูลฐานตาม มาตรา 3 ก่อการร้าย 3 7 ฉ้อโกงประชาชน หลบหนีศุลกากร 4 6 ยักยอกฉ้อโกงสถาบันฯ กรรโชกรีดเอาทรัพย์ 5 ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
24
10 11 ความผิด มูลฐานตาม กฎหมายอื่น การเลือกตั้ง ส.ส.และ ส.ว.
การค้ามนุษย์
25
ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.สว.2550 (มาตรา 53)
ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.สว (มาตรา 53) ห้ามผู้สมัครหรือผู้ใด จูงใจให้ฯ ลงคะแนนเสียงเลือก ตั้งให้ตนเองหรือผู้อื่น หรือพรรคการเมืองใด หรือให้งดการลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครหรือพรรคการเมืองใด โดย (1) จัดทำ ให้ เสนอให้ สัญญาว่าจะให้ หรือจัดเตรียมเพื่อจะให้ ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อันอาจคำนวณเป็นเงินได้ แก่ผู้ใด (2) ให้ เสนอให้ หรือสัญญาว่าจะให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม แก่ชุมชน สมาคม มูลนิธิ วัด สถาบัน การศึกษา สถานสงเคราะห์ หรือสถาบันอื่นใด ความผิดตาม(1) หรือ (2)ให้ถือเป็นความผิดมูลฐานกฎหมาย ปปง. และให้ กกต.มีอำนาจส่งเรื่องให้ ปปง.ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ได้
26
ความผิดตามกฎหมายการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 2551
มาตรา 6 ผู้ใด (1) เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จำหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อาศัย หรือรับไว้ซึ่งบุคคลใด โดยข่มขู่ ใช้กำลังบังคับ ลักพาตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใช้อำนาจโดยมิชอบ หรือให้เงินฯ หรือ (2) เป็นธุระจัดหา ซื้อ ขาย จำหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อาศัย หรือรับไว้ซึ่งเด็ก ผู้นั้นกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ มาตรา 14 ให้ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542
27
ภาพตัวอย่างคดี ความผิดมูลฐาน (2) เพศ (6) กรรโชก/รีดเอาทรัพย์
โดยอ้างอำนาจอั้งยี่หรือซ่องโจร
28
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิด ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต ตามที่บัญญัติไว้ใน ประมวลกฎหมายอาญา
29
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 1.ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 147) มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการ /รักษาทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นั้น เป็นของตน หรือ ของผู้อื่นโดยทุจริต หรือ โดยทุจริต ยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้นไปเสีย โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
30
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 2. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 148) ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจ เพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท หรือประหารชีวิต
31
ภาพตัวอย่างคดีทุจริต ในจังหวัดทางภาคเหนือ
ตามมาตรา 148,157
32
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 3. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สว.สส.สจ.สท. เรียก รับ หรือยอมจะรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท หรือประหารชีวิต (มาตรา 149)
33
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 4. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 150) กระทำการหรือไม่กระทำการ อย่างใดในตำแหน่ง โดยเห็นแก่ ทรัพย์สินหรือประโยชน์ใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับ แต่งตั้งเป็นเจ้าพนักงานในตำแหน่งนั้น โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
34
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 5. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน(มาตรา 151) มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการ หรือ รักษาทรัพย์ใดๆ ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยทุจริต ทำให้เสียหายแก่ รัฐ เทศบาล สุขาภิบาล หรือเจ้าของทรัพย์นั้น โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
35
ภาพตัวอย่างคดีทุจริตที่
จังหวัดทางภาคใต้ ตามมาตรา148,152,157
36
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
6.ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 152) มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้าไปมีส่วนได้เสียเพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่น อันเนื่องด้วยกิจการนั้น โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
37
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
7. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 153) มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์นั้นเกินกว่าที่ควรจ่าย เพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่น โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
38
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 8. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน (มาตรา 154) มีหน้าที่หรือแสดงว่าตนมีหน้าที่ เรียกเก็บหรือตรวจสอบภาษีอากร ค่าธรรมเนียม หรือเงินอื่นใด โดยทุจริต เรียกเก็บหรือละเว้นไม่เรียกเก็บภาษีอากร ค่าธรรมเนียมหรือเงินนั้น หรือ กระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดเพื่อ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรหรืออาธรรมเนียมนั้นมิต้องเสีย หรือเสียน้อยไปกว่าที่จะต้องเสีย โทษจำคุก 5-20 ปี หรือตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
39
ภาพตัวอย่างคดีทุจริต
ที่ จ.นนทบุรี ตามมาตรา 147,157
40
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 9. ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน(มาตรา 155) มีหน้าที่กำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้าใดๆ เพื่อเรียกเก็บภาษีอากรหรือค่าธรรม เนียม โดยทุจริต กำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้านั้น เพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรหรือค่าธรรม เนียมนั้น มิต้องเสียหรือเสียน้อยไปกว่าที่จะต้องเสีย โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
41
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 10.ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน(มาตรา 156) มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย โดยทุจริต แนะนำ กระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้มีการ ละเว้นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไขบัญชี หรือซ่อนเร้น หรือทำหลักฐานในการลงบัญชีอันจะเป็นผลให้การเสียภาษีอากร หรือค่าธรรมเนียมนั้นมิต้องเสียหรือเสียน้อยกว่าที่จะต้องเสีย โทษจำคุก 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 2 พันบาทถึง 4 หมื่นบาท
42
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต
ความผิดมูลฐานที่ 5 : ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต 11.ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน(มาตรา157) ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ ผู้หนึ่งผู้ใด หรือ ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต โทษจำคุก 1 – 10 ปี หรือปรับ 2 พันบาทถึง 2 หมื่นบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
43
ภาพตัวอย่างคดีเจ้าหน้าที่รัฐ
กระทำผิดค้ายาเสพติด
44
หาหลักฐานทางทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการ
3 การสืบค้น หาหลักฐานทางทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการ กระทำผิดฯ จะต้องเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด ตามบทนิยาม คำว่า ”ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด” ในมาตรา 3 เท่านั้น
45
ทั้งนี้ไม่ว่าจะจำหน่าย เปลี่ยนการครอบครองหรือ ทะเบียนไปกี่ครั้งก็ตาม
ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด หมายถึงเงินหรือทรัพย์สิน 3.ดอกผลของเงินหรือ ทรัพย์สินตาม 1 หรือ 2 1. ที่ได้มาจาก กระทำผิดมูลฐานหรือ สนับสนุนฯ ทั้งนี้ไม่ว่าจะจำหน่าย จ่ายโอน เปลี่ยนสภาพ เปลี่ยนการครอบครองหรือ ทะเบียนไปกี่ครั้งก็ตาม 2. ที่ได้มาจากการ จำหน่าย จ่าย โอน ทรัพย์สินตาม 1
46
การยึดทรัพย์สินในความผิด มูลฐานที่เกิดขึ้นก่อน
ภาพตัวอย่างคดี การยึดทรัพย์สินในความผิด มูลฐานที่เกิดขึ้นก่อน กฎหมาย ปปง.ใช้บังคับ
47
ผังแสดงคดีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมาย ปปง. ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด
กระทำความผิดค้ายา เสพติด ปี ศาลตัดสินลง โทษจำคุกปี 2539 ทรัพย์สิน 500 ล้านบาท ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด กฎหมาย ปปง. ประกาศใช้ปี 2542 สปง.ดำเนินการยึด/ อายัด ปี เพื่อขอให้ศาลสั่ง ตกเป็นของแผ่นดิน
48
ตัวอย่างการสืบทรัพย์สินฯ ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น
นาย ก. ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น จากกระทำผิด ทรัพย์สินอื่น ถูกจับ ดอกผล 1ล้านบาท ระดับความน่าเชื่อ ค้ายาเสพติดหรือ มีประวัติกระทำผิด 1 ม.ค.40 เงินเดือน จากทำงาน ตรวจสอบ ดอกผล ทรัพย์สินอื่น ทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น ธุรกรรม นาย ก. 1 ม.ค.40 ก่อนหน้า ทรัพย์สิน ที่มีอยู่ก่อนหน้า 1 ม.ค.40
49
ตัวอย่างการตรวจสอบทรัพย์สินเพื่อทำการยึดหรืออายัด
นาย ก. ทุจริต รับราชการ แผ่นดิน เงินเดือน 3 แสนบาท ซื้อ บ้าน/รถ ดอกเบี้ย 1 ล้านบาท 1.3 ล้านบาท
50
IT System Architecture
ระบบการสืบค้น IT System Architecture ความผิดมูลฐาน ทะเบียนชื่อ-สกุล ID ทะเบียนสมรส ทะเบียนปืน ทะเบียนที่ดิน ทะเบียนบริษัท การเสียภาษี ทะเบียนรถ ทะเบียนอาชญากรรม
51
การเสนอคณะกรรมการธุรกรรมยึด หลักฐานความผิดมูลฐาน เชื่อได้ว่าเป็นทรัพย์
หลักฐานทางทรัพย์สิน มีเหตุอันควร เชื่อได้ว่าเป็นทรัพย์ สินที่เกี่ยวกับการ กระทำผิด หลักฐานทางบุคคล
52
ขั้นตอนที่ 2 การพิจารณาของคณะกรรมการธุรกรรม/อัยการ/ศาลแพ่ง
53
มีการกระทำความผิดมูลฐานใด มีเหตุอันควรเชื่อได้
สรุปหลักในการยึดและอายัด ต้อง มีการกระทำความผิดมูลฐานใด มูลฐานหนึ่งเกิดขึ้น 1 ต้อง มีเงินหรือทรัพย์สิน ที่ได้ไปจากการ กระทำความ ผิดนั้น ต้อง มีเหตุอันควรเชื่อได้ ว่าอาจมีการจำหน่าย โอน ปกปิด หรือ ซ่อนเร้นฯ 2 3
54
การพิจารณาของคณะกรรมการธุรกรรม/ อัยการ/ และศาลแพ่ง
พจท. เสนอ กธก. ส่ง ยื่น ศาลแพ่ง อัยการ
55
หลักการพิจารณาของศาลแพ่ง(1)
แสดงให้ ศาลเห็นว่า ต้อง ผู้คัดค้าน และ ตน เป็นเจ้าของ ทรัพย์ที่แท้จริง ทรัพย์นั้นไม่ใช่ ทรัพย์ที่เกี่ยวกับ การกระทำผิด
56
หลักการพิจารณาของศาลแพ่ง(2)
แสดงให้ ศาลเห็นว่า ต้อง ผู้คัดค้าน ตน หรือ ได้ทรัพย์ฯ มาโดยสุจริต และ มีค่าตอบแทน ได้มาทาง สาธารณกุศล อันดี
57
หลักการพิจารณาของศาลแพ่ง
เพื่อประโยชน์ แห่งมาตรานี้ เจ้าของ ทรัพย์สินที่ถูก ยึดอายัด หาก ให้ เกี่ยวข้อง เคยเกี่ยวข้อง สันนิษฐานไว้ ก่อนว่าทรัพย์สินนั้น ได้มาจากการกระทำ ผิดหรือได้มาโดย ไม่สุจริต สัมพันธ์กับ ผู้กระทำความผิด มูลฐานฯมาก่อน
58
หลักการใช้กฎหมายอื่นไม่ได้ผล
กรณีที่ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดใด สามารถดำเนินการตามกฎหมายอื่นได้อยู่แล้วแต่ยังไม่ได้ดำเนินการ หรือ ดำเนินการแล้วแต่ไม่ เป็นผล หรือ ถ้าดำเนินการตาม กม.ปปง.จะได้ ผลดีกว่าก็ให้ดำเนินการตาม กม.นี้
59
ที่ดำเนินการตามกฎหมายอื่น เนื่องจากศาลฎีกาพิพากษา
ภาพตัวอย่างคดี ที่ดำเนินการตามกฎหมายอื่น ไม่ได้ผล เนื่องจากศาลฎีกาพิพากษา สั่งยกฟ้องจำเลย
60
4. การเกี่ยวข้องกับกฎหมาย ปปง. ของ นอภ.
4. การเกี่ยวข้องกับกฎหมาย ปปง. ของ นอภ.
61
ร่วมมือในการ ป้องกันและปราบ
มิติของการเกี่ยวข้องกับกฎหมาย ปปง.ของ นอภ. มิติที่หนึ่ง : ด้าน ความ ร่วมมือในการ ป้องกันและปราบ ปรามการ ฟอกเงิน มิติที่สอง : ด้านการตก อยู่ ในบังคับ ของ กฎหมาย ปปง.
62
มิติที่หนึ่ง : ความร่วมมือในการ ดำเนินงานในภารกิจของ สปง.(1)
ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ จัดโครงการอบรมให้ความรู้ สนับสนุนการดูแลรักษาทรัพย์สิน สนับสนุนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมเป็น พจท. ปปง.
63
ความร่วมมือในการแจ้งเบาะแส
-แจ้งเบาะแสในการนำจับผู้ กระทำความผิดใน 11 มูลฐาน -แจ้งเบาะแสในการนำสืบ ทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด -การแจ้ง/ต้องแจ้งก่อนการจับหรือ การสืบทรัพย์สินที่แจ้งไปนั้น
64
มิติที่สอง : การตกอยู่ในบังคับของกฎหมาย ปปง.
กรณีที่หนึ่ง : เมื่อมีการกระทำที่เป็นความผิดมูลฐานของกฎหมาย ปปง. กรณีที่สอง : เมื่อมีการเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับผู้กระทำความผิดมูลฐาน
65
กรณีหนึ่ง : เมื่อมีการกระทำความผิดมูลฐาน/ฐานฟอกเงิน
ในหน้าที่การงาน : ความผิดมูลฐาน(5) ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริต (ม.3(5)) ในทางส่วนตัว : ความผิดมูลฐาน(ม.3(1)(2)(3) (4)(6)(7)(8)(9) (10)(11) ) 1. 2.
66
กรณีสอง : เมื่อมีการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้กระทำความผิดมูลฐานฯ
ทางการทำธุรกรรม เกี่ยวกับ การเงิน ธุรกิจ หรือ ทรัพย์สิน 1. ทางการสนับสนุน ในการ กระทำความผิด มูลฐาน หรือ การฟอกเงิน 2.
67
ภาพตัวอย่างกรณีศึกษา คดีที่ดำเนินการยึดทรัพย์สิน
68
ภาพตัวอย่างคดี คดีที่บางนา คดีที่ปากท่อ คดีที่อยุธยา คดีที่ภาคเหนือ
69
ที่เกิดขึ้นที่บางนา กทม.
ภาพตัวอย่างคดีแรก ที่เกิดขึ้นที่บางนา กทม.
70
ภาพตัวอย่างคดียาเสพติดที่
อำเภอปากท่อ จ.ราชบุรี
71
การกระทำผิดค้ายาเสพติด
ภาพตัวอย่างคดี การกระทำผิดค้ายาเสพติด ที่ อ.ท่าเรือ จ.อยุธยา
72
ภาพตัวอย่างคดียาเสพติด และทุจริตที่ภาคเหนือ
73
การเปรียบเทียบรูปแบบการดำเนินคดี
มาตรการทางอาญา มาตรการทางแพ่ง ศาลอุทธรณ์/ฎีกา ศาลอุทธรณ์/ฎีกา ศาลอาญา ศาลแพ่ง พง.อัยการ พง.อัยการ พง.สอบสวน พจท. ปปง. (บุคคล+ของกลาง)ความผิดมูลฐาน(ทรัพย์ที่ฯผิด) ความผิดฐานฟอกเงิน
74
สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
422 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร ต่อ 2031,3003 โทรสาร Website:
75
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.