ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
2
สถานการณ์อนามัยวัยรุ่น
3
อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
แหล่งข้อมูล อายุเฉลี่ย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2539 18 – 19 ปี สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พ.ศ. 2545 15 – 16 ปี เอแบคโพลล์ พ.ศ. 2547
4
ร้อยละของวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว
แหล่งข้อมูล ร้อยละของการมีเพศสัมพันธ์ ร้อยละของการไม่ป้องกัน คณะแพทย์โรงพยาบาลรามาธิบดี (ม. 1 - ม. 6, 2544) 10 7.1 สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (ม.ปลาย /ปวช. 2545) 21.6 33.2 เอแบคโพลล์ (ม.ปลาย / ปวช. 2547) 42.4 - อนามัยโพลล์ (อุดมศึกษา, 2550) 36
5
ร้อยละของนักเรียนเคยมีเพศสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 2547 2548 2549 2550 2551 1.นักเรียน ม.2 เพศชาย เพศหญิง 2. นักเรียน ม.5 เพศชาย เพศหญิง 3.นักเรียน ปวช.ชั้นปีที่ 2 เพศชาย เพศหญิง ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 2551
6
อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น อายุ 10-24 ปี
อัตรา: ประชากรแสนคน พ.ศ. สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค
7
ร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ 10-19 ปี พ.ศ. 2547-2552
ที่มาโดยการสนับสนุนข้อมูลจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข จัดทำข้อมูลโดย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (การคำนวณร้อยละของแม่คลอดบุตรอายุ ปี = จำนวนแม่คลอดบุตรในช่วงอายุนั้น x 100) จำนวนแม่คลอดบุตรทั้งหมด 7
8
การทำแท้งในวัยรุ่น - ร้อยละ 29.3 อายุต่ำกว่า 20 ปี
- ร้อยละ อายุต่ำกว่า 20 ปี - ร้อยละ อายุต่ำกว่า 25 ปี - ร้อยละ มีสถานภาพนักเรียน นักศึกษา ที่มา: กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย, 2542
9
อัตราตายจากการทำแท้ง 300 : 100,000
(ทำแท้ง 100,000 คน มีโอกาสตาย 300 คน) อัตราตายจากสาเหตุอื่นขณะตั้งครรภ์ 20 : 100,000 เกิดมีชีพ
10
แผนการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
11
แนวคิดการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลลัพธ์ พฤติกรรม แนวทางแก้ไข การชะลอการมีเพศสัมพันธ์ (Delay Sex) การมีเพศสัมพันธ์ที่ ปลอดภัย ( Safe Sex) การลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Teenage Pregnancy) - มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ รู้คุณค่าในตนเอง/ให้เกียรติ สตรี ใช้วิธีคุมกำเนิดอย่าง เหมาะสม - ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อ มีเพศสัมพันธ์ ใช้บริการการให้คำปรึกษา และใช้บริการวางแผน ครอบครัว แท้งที่ปลอดภัย 1. สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียนเพศศึกษา อย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์อนามัย การเจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับ วัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3.ครอบครัว/ชุมชน -จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด/ อปท. - สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัย การเจริญพันธุ์ - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ - พัฒนาคู่มือ อสม. - พัฒนาสื่อมวลชน
12
แนวทางการดำเนินงาน 1. สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรการเรียนเพศศึกษาอย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์อนามัยการเจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3. ครอบครัว/ชุมชน จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด - สร้างครอบครัวอบอุ่น - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็ก - พัฒนาคู่มือแกนนำวัยรุ่น/ พ่อ-แม่/ ผู้ปกครอง/อสม.
13
โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต
1.1 โครงการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีและเครือข่ายระดับ จังหวัด ในการพัฒนาแผนสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่น วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมภาคีและเครือข่ายระดับจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 2) เพื่อสนับสนุนให้ภาคีและเครือข่ายร่วมกันส่งเสริม และป้องกันปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นอย่างยั่งยืน
14
โครงการวัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต (ต่อ)
ผลการดำเนินงาน ปี สสจ.สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ จำนวน 15 จังหวัด ได้แก่จังหวัดสุพรรณบุรี ลพบุรี มหาสารคาม พระนครศรีอยุธยา ระยอง สระแก้ว สมุทรสงคราม ชัยภูมิ ขอนแก่น สกลนคร อุทัยธานี พิจิตร ลำปาง สุราษฎร์ธานี และจังหวัดยะลา แผนการดำเนินงานปี จำนวน 36 จังหวัด (ศูนย์อนามัยละ 3 จังหวัด)
15
1.2 โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้โรงพยาบาลจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ผลการดำเนินงาน ปี 2553 เน้นการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการวัยรุ่นของโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 18 จังหวัดได้แก่ จังหวัดลพบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์ นครปฐม สมุทรสาคร เพชรบุรี กาญจนบุรี ชัยภูมิ ขอนแก่น อุทัยธานี พิจิตร เพชรบูรณ์ เชียงใหม่ ลำปาง สุราษฎร์ธานี และจังหวัดยะลา
16
แผนดำเนินงานปี สสจ. สนับสนุนการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น จำนวน 36 จังหวัด - สถานบริการของรัฐจัดบริการสุขภาพและอนามัย การเจริญพันธุ์อย่างน้อย 300 แห่ง
17
โครงการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการแท้งในประเทศไทย
ผลการดำเนินงานปี ประชุมพัฒนาเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูล แผนการดำเนินงานปี อบรมผู้จัดเก็บข้อมูล จัดเก็บข้อมูล
18
ตัวชี้วัด 1. หน่วยงานระดับจังหวัดมีการจัดทำและนำแผนยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นไปสู่การปฏิบัติ 2. หน่วยงานภาครัฐ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) สนับสนุนการ จัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน 3. สถานบริการภาครัฐจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน 4. สถานบริการภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็น มิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.