งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา

2 การจัดการสารสนเทศในองค์กร

3 การวางแผนและการพัฒนาระบบสารสนเทศ
* การวางแผนและการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development)

4 ความจำเป็นในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงกระบวนการการบริหารและการปฏิบัติงาน การปรับองค์การและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน กระบวนการธุรกิจ บุคลากร วิธีการและเทคนิค เทคโนโลยี งบประมาณ ข้อมูลและโครงสร้างพื้นฐานภายในองค์การ การบริหารโครงการ

5 กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศ
ภารกิจขององค์การ การประเมินสภาพแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐานเดิมด้าน IT แผนกลยุทธ์ขององค์การ แผนกลยุทธ์ด้าน IT โครงสร้างพื้นฐานด้าน IT แผนปฏิบัติการด้าน IT โครงการด้าน IT

6 การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ
1. วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ขององค์การ วิสัยทัศน์ : องค์การกำลังมุ่งไปในทิศทางใด แผนกลยุทธ์ : องค์การจะเดินไปตามทิศทางที่กำหนดไว้อย่างไร 2. ระบบสารสนเทศจะสนับสนุนวิสัยทัศน์และ กลยุทธ์ขององค์การอย่างไร ระบบสารสนเทศจะมีบทบาทในการสนับสนุนวิสัยทัศน์ขององค์การอย่างไร ระบบสารสนเทศเดิมเป็นอย่างไร แผนระบบสารสนเทศในปัจจุบันเป็นอย่างไร แผนระบบสารสนเทศในอนาคตจะพัฒนาในลักษณะอย่างไร

7 การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ
3. ระบบสารสนเทศในปัจจุบัน ระบบปัจจุบันได้สนับสนุนองค์การมากน้อยเพียงไร ระบบปัจจุบันมีความเหมาะสมหรือไม่ มีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร ควรจะปรับปรุงระบบปัจจุบันอย่างไร 4. ระบบสารสนเทศที่เสนอแนะ หลักการและเหตุผล ความสามารถของระบบใหม่ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ ข้อมูล และการสื่อสารข้อมูล

8 การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ
5. กลยุทธ์ทางการบริหาร แผนการจัดหา ช่วงเวลาดำเนินการ การจัดโครงสร้างองค์การใหม่ การปรับปรุงระบบงานภายในองค์การ การควบคุมทางการบริหาร การฝึกอบรม กลยุทธ์ด้านบุคลากร

9 การวางแผนระบบสารสนเทศในองค์การ
6. แผนปฏิบัติการ รายละเอียดแผนปฏิบัติการ ปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้น รายงานความก้าวหน้า 7. งบประมาณที่ต้องการใช้ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 8. การพัฒนาระบบสารสนเทศ

10 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ การจัดการแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล การออกแบบระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ

11 วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์
แนวทางในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ได้แก่ วิธีการ (Methodology) เทคนิค (techniques) และเครื่องมือแบบจำลองต่างๆ (Model Tools) วิธีการใช้วิเคราะห์และออกแบบสารสนเทศ คือ SDLC (System development lift cycle) และ RAD ( Rapid application development)

12 วิธีการ เทคนิค และเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์
3. เทคนิคสำหรับการวิเคราะห์ ได้แก่ เทคนิคการรวบรวมข้อมูล ( Data gathering) และเทคนิคการจัดการโครงการ (Project Management) 4. เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ ได้แก่ แบบกระบวนการ (Modeling processes) แบบจำลองข้อมูล (modeling data) และแบบจำลองเชิงวัตถุ (Modeling object)

13 การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ
วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) เป็นวิการแบบดั่งเดิม ขั้นตอนวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ ( System Analysis phase) ประกอบด้วยการวิเคราะห์ปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ

14 3. การจัดการแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดการแฟ้มข้อมูลและโครงสร้าง แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล ประกอบด้วยการจัดแฟ้ม การใช้แฟ้ม ความรู้ด้านฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล ข้อดี ปัญหาและอุปสรรค สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลและแบบจำลองฐานข้อมูล

15 4. การออกแบบระบบสารสนเทศ
การออกแบบผลลัพธ์ เช่น การกำหนดความต้องการผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่แสดงผล วิธีการแสดงผล การออกแบบรายงาน การออกแบบข้อมูลนำเข้า เช่นวิธีการนำเข้า อุปกรณ๋รับข้อมูล การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การออกแบบแฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูล การออกแบบแอฟพิเคชั่น การพิจารณาฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์สื่อสาร

16 การพัฒนาและการใช้ระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ เช่นความต้องการซอฟต์แวร์ การเขียนโปรแกรม การทดสอบ การนำสารสนเทศไปใช้ การปรับเปลี่ยนระบบ การจัดทำเอกสาร การฝึกอบรม

17 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development) เป็นกิจกรรมทั้งหมดที่จำเป็นในการนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อแก้ปัญหาขององค์การหรือสร้างโอกาสให้กับองค์การ การพัฒนาระบบสารสนเทศมีหลายวิธี เช่น แบบวงจรชีวิต(System Development Life Cycle), การสร้างต้นแบบ(Prototyping), การเน้นผู้ใช้เป็นหลัก(End-User Development), การจ้างบุคคลภายนอก(Outsourcing), และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป(Application software package)

18 วิธีการ (methodologies) หมายถึง รูปแบบการดำเนินงานที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ การออกแบบ และการพัฒนาระบบสารสนเทศ มี 2 วิธี คือ วิธีวงจรพัฒนาระบบ (systems development life cycle-SDLC) ปัจจุบันเรียกว่าเป็นวิธีการพัฒนาระบบแบบเดิม ต้องใช้ระยะเวลานานและทรัพยากรมาก วิธีพัฒนาระบบงานแบบรวดเร็ว (rapid application development- RAD) ปัจจุบันมีเทคโนโลยีสมัยใหม่และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ได้สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสารสนเทศ

19 เปรียบเทียบขั้นตอนของวงจรพัฒนาระบบ และการพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว
SDLC การวิเคราะห์ปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การวิเคราะห์ความต้องการของระบบ การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การออกแบบ การสร้างระบบ การใช้ระบบ RAD 1. การวางแผนกำหนดความต้องการ (requirement planning) 2. การออกแบบโดยผู้ใช้ (user design) 3. การสร้างระบบ (construction) 4. การเปลี่ยนระบบ (cutover)

20 วิธีการการพัฒนาระบบแบบรวดเร็ว จำแนกได้เป็น การพัฒนาระบบร่วมกัน การจัดทำต้นแบบ การใช้ซอฟต์แวร์เคส และการวิเคราะห์ ออกแบบและเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การพัฒนาระบบร่วมกัน (joint application development – JAD) การพัฒนาระบบร่วมกันหรือ เจเอดี เป็นอีกวิธีหนึ่งของการพัฒนาระบบอย่างรวดเร็ว ระหว่างผู้ใช้ระบบและผู้พัฒนา โดยผู้ใช้และผู้พัฒนาระบบมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการของระบบร่วมกัน (Joint requirement planning – JRP) และออกแบบระบบร่วมกัน (joint application design – JAD) เพื่อลดเวลา ค่าใช้จ่าย และขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีที่บริษัทไอบีเอ็มพัฒนาขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ1970 และเป็นที่นิยมใช้เป็นเทคนิคในการรวบรวมข้อมูลขององค์การด้านธุรกิจ ในการรวบรวมข้อมูลร่วมกันผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการวางแผนดำเนินการที่ดีเพราะเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา และค่าใช้จ่าย แต่ผลที่ได้ก็จะคุ้มค่า

21 การจัดทำต้นแบบ (prototyping)
การจัดทำต้นแบบ คือ การจัดสร้างระบบทดลองหรือระบบต้นแบบก่อนการพัฒนาระบบทั้งหมด ขึ้นมาแล้วให้ผู้ใช้ทำการทดสอบหาข้อบกพร่องและประเมินค่าของระบบ นำไปปรับปรุง และทดสอบประเมินใหม่วนซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้จึงนำไปปรับเปลี่ยนเป็นระบบจริง วิธีนี้ทำให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถกำหนดความต้องการที่ชัดเจน แน่นอนได้ แม้ว่าจะไม่รวมคุณสมบัติของงานประยุกต์ไว้ทั้งหมดเพราะยังเป็นระบบที่ยังไม่ได้รับการทดสอบอย่างสมบูรณ์ ไม่มีข้อมูลจำนวนมากและครบถ้วนเต็มระบบ จึงอาจมีข้อบกพร่องได้ แต่ก็สร้างได้อย่างรวดเร็ว และประหยัด (London and London 2001)

22 การใช้ซอฟต์แวร์เคส (computer-aided software engineering – CASE)
ซอฟต์แวร์เคส เป็นซอฟต์แวร์สำเร็จที่ช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่ช่วย พัฒนาโปรแกรม และสร้างแบบฟอร์มต่างๆ ให้มีมาตรฐาน ถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวก เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีมาตรฐานและมีโครงสร้างที่ดี อุปสรรคก็คือมีราคาสูง ต้องใช้เวลาฝึกอบรมในการใช้ค่อนข้างมาก องค์การส่วนใหญ่ยังไม่มีมาตรฐานของการนำมาประยุกต์ใช้ที่ชัดเจน ซอฟต์แวร์เคส เช่น Oracle’s Developer 2000, Rational ROSE, Visio

23 การวิเคราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือโอโอเอดี
(object-oriented analysis and design – OOAD) มองระบบเป็นกลุ่มของวัตถุ ในปัจจุบันใช้วิธีนี้มากทั้งการวิเคราะห์ ออกแบบ และโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ เป็นการใช้แนวคิดในการวิเคราะห์ ออกแบบ และเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ มีเครื่องมืออัตโนมัติช่วยสนับสนุนมากในทุกขั้นตอน

24 System Development Life Cycle (SDLC)
ศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ เขียนโปรแกรม ทดสอบระบบ ติดตั้งใช้งานระบบ เปลี่ยนระบบเข้าสู่ระบบใหม่ และบำรุงรักษา

25 ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ SDLC
การพัฒนาระบบต้องใช้เวลานานมาก กว่าจะได้ผลให้ผู้บริหารเห็น ผู้บริหารก็อาจเปลี่ยนเป็นคนใหม่ ซึ่งมีความต้องการต่างกันไป หากใช้เวลานานมาก แม้แต่ เทคโนโลยี ก็เปลี่ยนไป ต้องใช้งบประมาณค่อนข้างมาก

26 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ
๑. พัฒนาระบบโดยพัฒนาต้นแบบ จัดทำระบบทดลอง โดยอาศัยข้อกำหนดความต้องการของผู้ใช้ จากนั้น เชิญผู้ใช้มาพิจารณาระบบทดลอง ๒. การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จมาใช้ ข้อพิจารณาในการเลือกซอฟต์แวร์สำเร็จ มี function ครบถ้วน ยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนได้ ใช้ง่าย ติดตั้งง่าย ดูแลง่าย มีเอกสารต่าง ๆ พร้อม ผู้ขายมีคุณภาพ และพร้อมสนับสนุน ใช้ทรัพยากรต่างๆ ไม่มาก เกินความจำเป็น ราคาเหมาะสม

27 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
๓. การว่าจ้างที่ปรึกษาบริษัทเอกชนหรือ ภาครัฐ ข้อดี มีความเชี่ยวชาญด้านนี้อยู่แล้ว อุดหนุนคนไทย หากเป็นสถาบันภาครัฐ มีความไว้วางใจ หากเป็นภาครัฐ ประหยัดเวลาในการจัดทำเอกสารการประกวดราคา ข้อสังเกต ที่ปรึกษาภาครัฐเหมาะกับโครงการขนาดเล็ก – กลาง เนื่องจากขาดความเชี่ยวชาญในการบริหารโครงการขนาดใหญ่

28 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
๔. การพัฒนาระบบของผู้ใช้ ข้อดี ช่วยทุ่นเวลา และกำลังคนของศูนย์ไอซีที อีกทั้งผู้ใช้ได้ระบบที่ต้องการรวดเร็วขึ้น และตรงกับความต้องการมากที่สุด ข้อเสีย ระบบที่ได้อาจจะไม่ได้มาตรฐาน ไม่สามารถทำงานร่วมกับระบบอื่นได้ ขาดเอกสารคู่มือ ทำให้อาจมีปัญหา หากผู้พัฒนาไม่อยู่ในองค์กรแล้ว ถ้าบุคลากรขาดความรู้ความสามารถทำให้เปลืองเวลาและทรัพยากรและมีอัตราเสี่ยงสูง

29 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ (ต่อ)
๕. การ Outsourcing มีได้หลายความหมาย การว่าจ้างให้คนภายนอกพัฒนาระบบงานให้ก็เป็นการ Outsource แต่ในปัจจุบัน นิยมหมายถึง การให้บริษัทมารับเหมางานด้านไอซีทีไปหมด ตั้งแต่การพัฒนาระบบ การจัดหาอุปกรณ์มาใช้ รวมไปถึงการปฏิบัติการระบบให้ด้วยคนของบริษัทเอง

30 Outsourcing Development
หมายถึง การจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศให้กับธุรกิจหรือองค์กร ซึ่งรวมทั้งการพัฒนาระบบ การจัดการระบบ และการบำรุงรักษาระบบสารสนเทศให้กับธุรกิจ และการให้บริการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การเช่าซื้ออุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ต่างๆ โดยมีการทำสัญญา (Contract) ร่วมกัน การใช้บริการจากผู้ให้บริการภายนอก (Outsource) แหล่งภายนอกมากกว่า 80% ได้แก่ การมอบหมายความรับผิดชอบและโอนทรัพย์สินรวมทั้งพนักงานให้กับ Outsourcer แหล่งภายนอกน้อยกว่า 80% ได้แก่ การเลือกใช้บริการอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการชั่วคราว เช่น การจ้างเขียนโปรแกรม

31 When to use outsourcing?
ปัจจัยที่ควรพิจารณา ได้แก่ ความจำเป็นของระบบต่อการดำเนินงานขององค์กร ระบบที่มีความต้องการรีบด่วน ระบบที่ไม่เกี่ยวกับระบบอื่นในองค์กร ระบบที่มีมาตรฐานสูง ระบบที่จะพัฒนานั้นไม่ใช่เพื่อการทำงานหลักที่สำคัญที่สุดขององค์กร ผลกระทบของการใช้งานระบบต่อการแข่งขันขององค์กร เมื่อต้องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ธุรกิจไม่มีความสามารถด้านนี้ ความต้องการในการพัฒนาบุคลากรด้าน IT ขององค์กร

32 ข้อดีและข้อเสียของ Outsourcing
ทำให้ต้นทุนในการพัฒนาระบบสารสนเทศลดลง ได้รับคุณภาพของบริการตามที่ต้องการ มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ใช้ ทำให้สามารถประมาณการค่าใช้จ่ายได้ ลดเวลาของคนในองค์กรที่จะต้องไปทำงานด้านระบบสารสนเทศ ได้ความรู้ความชำนาญจากภายนอก ทำให้ผู้บริหารสามารถมุ่งความสนใจไปในเรื่องที่เน้นกลยุทธ์ขององค์กรมากขึ้น ประหยัดงบประมาณ และกำลังคน ได้บริการที่มีคุณภาพ กำหนดและพยากรณ์งานที่ต้องการได้ง่าย ทำให้ต้นทุนคงที่ กลายเป็น ต้นทุนแปรผัน ข้อเสีย สูญเสียการควบคุม เพราะการควบคุมการทำงานของระบบสารสนเทศอยู่ที่บริษัทภายนอก ทำให้ต้องพึ่งพาบริษัทภายนอกในการจัดการระบบสารสนเทศ อาจเสี่ยงต่อการรั่วไหลของข้อมูลที่สำคัญ ความล้าสมัยในความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรภายใน ปัญหา ควบคุมการปฏิบัติงานไม่ได้ ? ข้อมูลสำคัญอาจรั่วไหล ? ไม่มีความเป็นอิสระ ต้องพึ่งบริษัทตลอดเวลา ? ขาดความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนระบบ ? ไม่มีโอกาสพัฒนาคนของหน่วยงาน?

33 ความล้มเหลวของ Outsourcing
ผู้บริหารไม่เข้าใจในเทคโนโลยีที่จะต้องบริหารว่า มีผลต่อองค์กร อย่างไร ข้อจำกัดเป็นอย่างไร องค์กรไม่สามารถระบุความต้องการที่แท้จริงได้ องค์กรไม่มีความสามารถในการหาแหล่ง Outsource องค์กรไม่มีความสามารถในการเจรจาต่อรองกับ Outsourcer องค์กรไม่มีความสามารถในการประสานงานกับ Outsourcer

34 ขั้นตอนในการ Outsourcing
จัดตั้งคณะทำงานกับแหล่ง Outsource ระบุข้อกำหนดความต้องการใช้บริการที่แท้จริง ดำเนินการจัดทำเอกสารเชิญชวนยื่นข้อเสนอ ประเมินข้อเสนอ ประเมินผู้เสนอให้บริการ เจรจาต่อรองในการทำสัญญา โดยในสัญญาควรพิจารณาในเรื่องที่สำคัญ คือ ระยะเวลาของสัญญา วิธีการวัดผลงาน (ปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลาการนำส่ง) และการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเปลี่ยนแปลง

35 System development คือกลุ่มของกิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบ คือ System development คือกลุ่มของกิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ System คือกลุ่มขององค์ประกอบร่วมกันในเป้าหมายเดียวกัน Information system (IS) คือการรวมเอา hardware, software, data, people, and procedures มาทำงานร่วมกันในการผลิตสารสนเทศที่มีคุณภาพ System development activities คือกลุ่มของเฟส(phases) และเรียกว่า system development life cycle (SDLC) 35 Page 620 35

36 การพัฒนาระบบ คือ 36 Pages 620 – 621 Figure 12-1 36

37 การพัฒนาระบบ คือ System development รวมถึงตัวแทนจากฝ่ายต่างๆซึ่งมึจุดประสงค์เดียวกันในระบบ 37 37

38 การพัฒนาระบบ คือ Project management คือกระบวนการวางแผน กำหนดตาราง และควบคุมกิจกรรมในระหว่างการพัฒนา แผนและตารางการทำงานจะมีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับหัวหน้าโครงการเป็นผู้กำหนด : ขอบเขตโครงการProject scope กิจกรรมที่ต้องการRequired activities ประมาณการเวลาแต่ละกิจกรรม Time estimates for each activity ประมาณต้นทุนแต่ละกิจกรรม Cost estimates for each activity งานของแต่ละกิจกรรม Order of activities กิจกรรมที่สามารถกำหนดทำในเวลาเดียวกัน Activities that can take place at the same time 38 38

39 การพัฒนาระบบ คือ เครื่องมือที่นิยมใช้ในการวางแผนและจัดทำตารางเวลาและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่กำหนดใน Gantt chart 39 39

40 A PERT chart ใช้ในการวางแผนและจัดทำตารางเวลา
การพัฒนาระบบ คือ A PERT chart ใช้ในการวางแผนและจัดทำตารางเวลา 40 40

41 การพัฒนาระบบ คือ Feasibility เป็นการศึกษาถึงความเหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร การศึกษาความเป็นไปได้ด้านปฏิบัติการOperational feasibility การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเวลา Schedule feasibility การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเทคนิคTechnical feasibility การศึกษาความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์Economic feasibility 41 41

42 การพัฒนาระบบ คือ Documentation คือการรวบรวมและรายงานสรุปข้อมูลและสารสนเทศ โครงการคือสมุดบันทึกเอกสารทั้งหมดในแต่ละโครงการ Users และ IT professionals จะอ้างถึงเอกสารเพื่อปฏิบัติงานและเปลี่ยนแปลงระบบปัจจุบัน 42 42

43 การพัฒนาระบบ คือ ระหว่างการพัฒนาระบบสมาชิกทีมโครงการจะต้องนำข้อมูลและสารสนเทศมาด้วยเทคนิคต่างๆได้หลายวิธี Review documentation Observe Survey Interview JAD Sessions Research 43 43

44 ใครคือผู้กำหนดโครงการพัฒนาระบบ
User มีความต้องการระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบ องค์กรจะต้องการเปลี่ยนเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใหม่ องค์กรในอนาคตที่ต้องการควบคุมองค์กรที่เปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการถึงจุดเปลี่ยนแปลง User จะต้องการระบบใหม่หรือเปลี่ยนแปลงสารสนเทศด้านการบริการ 44 44

45 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ
จัดทำขึ้นเองโดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาจัดทำระบบให้ จัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูป จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก

46 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิดจนตายวงจรนี้จะเป็นขั้นตอนที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จเรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทำความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไร และทำอย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้น ด้วยกัน คือ

47 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))

48 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
1. การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary study) 2. การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis) 3. การออกแบบระบบ ( System Design) 4. การพัฒนาระบบ (Construction) 5. การทดสอบระบบและการเปลี่ยนระบบ (System Testing and Conversion) 6. บำรุงรักษาระบบ (Maintenance)

49 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
ขั้นที่ 1 : การศึกษาเบื้องต้น (Preliminary study) การที่จะแก้ไขระบบเดิมที่มีอยู่แล้วไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก หรือแม้แต่การสร้างระบบใหม่ ดังนั้นควรจะมีการศึกษาเสียก่อนว่าความต้องการของเราเพียงพอที่เป็นไปได้หรือไม่ ได้แก่ "การศึกษาความเป็นไปได้" (Feasibility Study) สรุป ขั้นตอนที่ 1: การศึกษาเบื้องต้น หน้าที่ : ตระหนักว่ามีปัญหาในระบบ ผลลัพธ์ : อนุมัติการศึกษาความเป็นไปได้ เครื่องมือ : ไม่มี บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้หรือผู้บริหารชี้แจงปัญหาต่อนักวิเคราะห์ระบบ

50 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) การกำหนดว่าปัญหาคืออะไรและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศ หรือการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็นไปได้หรือไม่โดยเสียค่าใช้จ่ายและเวลาน้อยที่สุด และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกำหนดให้ได้ว่าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีความเป็นไปได้ทางเทคนิคและบุคลากร ความเป็นไปได้ทางด้านบุคลากร คือ บริษัทมีบุคคลที่เหมาะสมที่จะพัฒนาและติดตั้งระบบเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีจะหาได้หรือไม่ จากที่ใด

51 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
มีด้วยกัน 5 ด้านหลักๆ คือ  ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค (technical feasibility) ศึกษาด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ว่าเหมาะสมหรือไม่  ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐกิจ (economic feasibility) เปรียบเทียบคงวามตุ้มค่า ผลตอบแทน ค่าใช้จ่าย ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน (operational feasibility) การทำงานซ้ำซ้อนหรือไม่ ตรงกับความต้องการหรือไม่ ความเป็นไปได้ด้านเวลา ( Schedule feasibility) พิจารณาเวลาในการพัฒนาระบบ การใช้เวลา ความเป็นไปได้ด้านบุคลากร ( Human feasibility) ดูความพร้อมของบุคลากร การพัฒนาบุคลากร

52 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
ขั้นตอนที่ 2: การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis ) หน้าที่ : กำหนดปัญหา และศึกษาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ ผลลัพธ์ : รายงานความเป็นไปได้ เครื่องมือ : เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบและคาดคะเนความต้องการของระบบ บุคลากรและหน้าที่ความรับผิดชอบ : ผู้ใช้จะมีบทบาทสำคัญในการศึกษา 1. นักวิเคราะห์ระบบจะเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่จำเป็นทั้งหมดเกี่ยวกับปัญหา 2. นักวิเคราะห์ระบบคาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปัญหา 3. นักวิเคราะห์ระบบ กำหนดความต้องการที่แน่ชัดซึ่งจะใช้สำหรับขั้นตอนการวิเคราะห์ต่อไป 4. ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะดำเนินโครงการต่อไปหรือไม่

53 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
การวิเคราะห์ระบบ ( System Analysis) การวิเคราะห์ระบบเริ่มตั้งแต่การศึกษาระบบการทำงานของธุรกิจนั้น หลังจากนั้นกำหนดความต้องการของระบบใหม่ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบจะต้องใช้เทคนิคในการเก็บข้อมูล (Fact-Gathering Techniques) เมื่อจบขั้นตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเขียนรายงานสรุปออกมาเป็น ข้อมูลเฉพาะของปัญหา (Problem Specification)

54 ทบทวนวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการวิเคราะห์ระบบ
ศึกษาแนวทางที่ได้เสนอไว้ในการศึกษาเบื้องต้น ศึกษารวบรวมเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบ ผังการจัดองค์กร แผนงานของหน่วยงาน เอกสารต่างๆและรายงาน กฎระเบียบต่างๆ ศึกษาความต้องการของผู้บริหาร สัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน สำรวจความต้องการโดยใช้แบบสอบถาม

55 5. ศึกษาสภาพการปฏิบัติงานจริง
ทำความเข้าใจเนื้อหาของข้อมูลที่ใช้ในปัจจุบัน ทำความเข้าใจทางเดินของข้อมูล ทำความเข้าใจกระบวนการทำงาน ทำความเข้าใจการดูแลรักษาข้อมูล จำแนกปัญหาในระบบปัจจุบัน กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา กำหนดโครงร่างของระบบใหม่ การจัดสรรทรัพยากรต่างสำหรับการพัฒนา จัดทำรายงายงานการวิเคราะห์ระบบ

56 การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมา ประกอบด้วยการวิเคราะห์โครงสร้างและสิ่งแวดล้อมขององค์กร การบริหาร การปฏิบัติการ ตลอดจนความสัมพันธ์ในส่วนต่างๆขององค์กร การวิเคราะห์กระบวนการ เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานของระบบงานเดิม และจำลองการทำงานของระบบงานใหม่ที่ต้องการ เพื่อให้ทราบว่าข้อมูลใดเกิดกระบวนการทางธุรกิจ การวิเคราะห์ลักษณะของผลลัพธ์ โดยพิจารณาว่าผู้ใดเป็นผู้ใช้ผลลัพธ์ ไปใช้ที่ไหน เพื่อวัตถุประสงค์อะไร เมื่อไร ผลลัพธ์ตรงกับความต้องการหรือไม่ มีความแน่นอนถูกต้องต่อการใช้งานหรือไม่ การวิเคราะห์ข้อมูลเข้า วิเคราะห์การใช้ข้อมูลในแต่ละหน่วยงานโดยคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล และวิธีการจัดแฟ้มข้อมูล การประมวลผล และผลลัพธ์

57 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
ขั้นตอนที่3: การออกแบบระบบ ( System Design) ในการออกแบบโปรแกรมต้องคำนึงถึงความปลอดภัย (Security) ของระบบด้วย เพื่อป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น "รหัส" สำหรับผู้ใช้ที่มีสิทธิ์สำรองไฟล์ข้อมูลทั้งหมด เป็นต้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสำหรับข้อมูลขาเข้า (Input Format) ออกแบบรายงาน (Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) หลักการการออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการ ใช้งาน และป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น ถัดมาระบบจะต้องออกแบบวิธีการใช้งาน

58 Design the System

59 ขั้นตอนการออกแบบระบบสารสนเทศ
การออกแบบเชิงทางตรรกะ ทบทวนรายงานการวิเคราะห์ระบบ ออกแบบตามลำดับต่างๆของงาน กำหนดส่วนที่คนและคอมพิวเตอร์ทำงานประสานกัน การออกแบบในรายละเอียด ออกแบบรายละเอียดต่างๆของระบบ ออกแบบข้อมูลต่างๆ สำหรับการตรวจสอบความถูกต้อง ออกแบบเนื้อหาสำหรับการฝึกอบรม จัดทำรายงานการออกแบบ

60 Design Phase Design phase ประกอบกิจกรรมหลัก2 กิจกรรม
ความต้องการของ hardware และ software พัฒนารายละเอียดของระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบสารสนเทศ 60 Page 638 60

61 Design Phase การศึกษาทางด้าน hardware และ software: Make a decision
Use research techniques such as e-zines Identify technical specifications RFQ, RFP, or RFI is sent to potential vendors or VARs Solicit vendor proposals Various techniques are used to determine the best proposal Test and evaluate vendor proposals Systems analyst makes recommendation to steering committee Make a decision 61 Pages 61

62 Input and output design
Design Phase ขั้นตอนต่อไปในการกำหนดคุณสมบัติของรายละเอียด บางครั้งเราเรียกว่า physical design Database design Input and output design Program design 62 Page 640 62

63 Design Phase การวิเคราะห์ระบบมี 2 แบบคือการออกแบบ input และ output
Layout chart การกำหนดเทคนิคและข้อมูลที่อ้างอิงของผู้เขียนโปรแกรม Mockup คือตัวอย่างการออกแบบอินพุตเอ้าพุตที่ SA สมมุติการทำงานของระบบ 63 63

64 Design Phase Computer-aided software engineering (CASE) tools คือเครื่องมือที่สนับสนุนกิจกรรมหนึ่งหรือมากกว่าของการพัฒนาระบบ CASE tools จะมีเครื่องมือในการจัดการดังนี้: Project repository Graphics Prototyping Quality assurance Code generator Housekeeping 64 Page 642 64

65 Design Phase บุคลากรส่วนมากจะทบทวนการออกแบบรายละเอียดตามข้อกำหนด
การแนะนำ คือจะต้องมีแบบของการทบทวนทุกระบบการส่งมอบ ทีมตรวจสอบจะต้องรายงานข้อผิดพลาด 65 Page 642 65

66 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
สรุปขั้นตอนที่ 3 : การออกแบบระบบ (Design) หน้าที่ : ออกแบบระบบใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และฝ่ายบริหาร ผลลัพธ์ : ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification) เครื่องมือ : พจนานุกรมข้อมูล Data Dictionary, แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram), ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล (Process Specification ), รูปแบบข้อมูล (Data Model), รูปแบบระบบ (System Model), ผังงานระบบ (System Flow Charts), ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts), ผังงาน HIPO (HIPO Chart), แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน

67 บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ตัดสินใจเลือกคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ (ถ้าใช้) 2. นักวิเคราะห์ระบบ เปลี่ยนแผนภาพทั้งหลายที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์มาเป็นแผนภาพลำดับขั้น 3. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ 4. นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการแสดงภาพบนจอ 5. นักวิเคราะห์ระบบ กำหนดจำนวนบุคลากรในหน้าที่ต่างๆและการทำงานของระบบ 6. ผู้ใช้ฝ่ายบริหาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบเพื่อความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของระบบ

68 ขั้นตอนที่ 4: การพัฒนา/จัดหาระบบ (System development /acquisition):
โปรแกรมเมอร์จะเริ่มเขียนและทดสอบโปรแกรมว่า ทำงานถูกต้องหรือไม่ โดยนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมสถานที่สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วจะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเรียบร้อยดี หลังจากนั้นต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มือซึ่งประกอบด้วยข้อมูลการใช้งานสารบัญการอ้างอิง "Help" บนจอภาพ เป็นต้น นอกจากข้อมูลการใช้งานแล้ว ต้องมีการฝึกอบรมพนักงานที่จะเป็นผู้ใช้งานจริงของระบบเพื่อให้เข้าใจและทำงานได้โดยไม่มีปัญหาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรือเป็นกลุ่มก็ได้

69 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์  การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์  การทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์  การจัดทำเอกสารประกอบระบบ

70 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1. ขั้นตอนการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 การกำหนดรายละเอียดในการแก้ปัญหาโดยพิจารณาส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ - ส่วนข้อมูลนำเข้า - ส่วนประมวลผล - ส่วนแสดงผล 1.2 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นำรายละเอียดมาพัฒนาเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

71 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
2. หลักการในการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง 2.1 การออกแบบโปรแกรมจากบนลงล่างกรณีปัญหาซับซ้อน ควรแบ่งเป็นส่วน ๆ แล้วนำปัญหาหลักมาพิจารณาออกแบบเป็นโปรแกรมก่อน จากนั้นจึงวิเคราะห์ต่อถึง การแก้ปัญหาย่อยลงไป

72 การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
2.2 โครงสร้างการควบคุมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การออกแบบโปรแกรมโดยใช้โครงสร้างพ้นฐาน แสดงขั้นตอน  การทำงานในโปรแกรม ได้แก่  การทำงานตามลำดับ  การทำงานแบบทำซ้ำ (Do until / Do while)  การทำงานแบบเลือกทำ (IF then else)

73 3. เครื่องมือช่วยออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3.1 ผังงานโปรแกรม (program flowchart) 3.2 ชุดคำสั่งจำลอง (psuedocode) 3.3 ตารางการตัดสินใจ (decision table) 3.4 ต้นไม้การตัดสินใจ (decision tree) 3.5 ผังแสดงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน (HIPO chart)

74 การทดสอบการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1. ทดสอบการทำงานของโปรแกรมแต่ละโปรแกรม(unit test) 2. ทดสอบการทำงานร่วมกันของโปรแกรมทุกโปรแกรมในระบบ(integration test) 3. ทดสอบกับข้อมูลจริงเพื่อยอมรับระบบโดยผู้ใช้ระบบ (acceptance test)

75 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
สรุปขั้นตอนที่ 4: การพัฒนาระบบ หน้าที่ : เขียนและทดสอบโปรแกรม ผลลัพธ์ : โปรแกรมที่ทดสอบเรียบร้อยแล้ว เอกสารคู่มือการใช้ และการฝึกอบรม เครื่องมือ : เครื่องมือของโปรแกรมเมอร์ทั้งหลาย Editor, compiler, Structure Walkthrough, วิธีการทดสอบโปรแกรม การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน บุคลากรและหน้าที่ : 1. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเตรียมสถานที่และติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ (ถ้าซื้อใหม่) 2. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการเขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม 3. โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถ้าซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป 4. นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม 5. ทีมที่ทำงานร่วมกันทดสอบโปรแกรม 6. ผู้ใช้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า โปรแกรมทำงานตามต้องการ 7. นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มือการใช้งานและการฝึกอบรม

76 ขั้นตอนที่ 5: การติดตั้งระบบและการทดสอบ
ขั้นตอนนี้บริษัทนำระบบใหม่มาใช้แทนของเก่าภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ การป้อนข้อมูลต้องทำให้เรียบร้อย และในที่สุดบริษัทเริ่มต้นใช้งานระบบใหม่นี้ได้ การนำระบบเข้ามาควรจะทำอย่างค่อยเป็นค่อยไปทีละน้อย ที่ดีที่สุดคือ ใช้ระบบใหม่ควบคู่ไปกับระบบเก่าไปสักระยะหนึ่ง โดยใช้ข้อมูลชุดเดียวกันแล้วเปรียบเทียบผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าเรียบร้อยก็เอาระบบเก่าออกได้แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป

77 เป็นขั้นตอนของการติดตั้งระบบ เพื่อให้การทำงานของระบบประสบผลสำเร็จด้วยความเรียบร้อยมีการทำงานดังต่อไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงระบบใหม่ การเปลี่ยนจากระบบสารสนเทศเก่าเป็นระบบสารสนเทศใหม่จะรวมถึง ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแฟ้มข้อมูล การเปลี่ยนฮาร์ดแวร์ การเปลี่ยนแปลงซอฟต์แวร์ การเปลี่ยนแปลงแฟ้มข้อมูลหรือข้อมูล

78 Implementation Phase จุดประสงค์ของ implementation phase คือนำโครงสร้างใหม่หรือปรับปรุงระบบและส่งมอบ Develop programs Install and test the new system Train users Convert to the new system 78 Page 643 78

79 Implementation Phase การทดสอบระบบใหม่มีดังนี้ Unit test
ตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมต่างๆแต่ละโปรแกรม Systems test ตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมตั้งแต่เริ่มต้นจนได้ผลลัพธ์ Integration test ตรวจสอบความถูกต้องของการเชื่อมโยงของโปรแกรมประยุกต์ Acceptance test ตรวจสอบความถูกต้องการใช้งานของผู้ใช้ว่ายอมรับหรือไม่ 79 Page 644 79

80 Implementation Phase การฝึกอบรม (Training) เป็นการแสดงใหผู้ใช้เรียนรู้การทำงานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ใหม่ One-on-one sessions Classroom-style lectures Web-based training 80 80

81 Implementation Phase กลยุทธ์ในการเปลี่ยนแปลงจากระบบเก่าเป็นระบบใหม่
81 Pages 644 – 645 Figure 12-22 81

82 วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle (SDLC))
ขั้นตอนที่ 6: บำรุงรักษาระบบ (Maintenance) การบำรุงรักษาได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจากการใช้งานแล้ว การบำรุงรักษาระบบ ควรจะอยู่ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมื่อผู้บริหารต้องการแก้ไขส่วนใดนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมแผนภาพต่าง ๆ และศึกษาผลกระทบต่อระบบ และให้ผู้บริหารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไขหรือไม่

83 Operation, Support, and Security Phase
Perform maintenance activities Monitor system performance Assess system security 83 Page 645

84 ทีมงานพัฒนาระบบ ในวงจรพัฒนาระบบนั้นมีขั้นตอนอยู่มากมายกว่าจะได้เป็นระบบขึ้นมา ดังนั้น ทีมงานที่ต้องใช้ในการพัฒนาระบบจึงมีอยู่หลายส่วนเช่นกัน

85 ทีมงานพัฒนาระบบ 1. คณะกรรมการดำเนินงาน เป็นผู้วางนโยบายและกลยุทธ์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร 2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (Project Manager) เป็นผู้ควบคุมให้ดำเนินการไปตามแผนของโครงการ 3. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) เป็นผู้ที่วิเคราะห์ และออกแบบระบบ 4. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่เขียนโปรแกรมตามระบบที่ออกแบบมา

86 ทีมงานพัฒนาระบบ 5. วิศวกรระบบ (System Engineer) คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 6. ผู้สนับสนุนฝ่ายเทคนิค(Technical Support) คือ ผู้ที่ช่วยสนับสนุนในด้านเทคนิค 7. เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล 8. ผู้ใช้งานระบบ (End User)


ดาวน์โหลด ppt INT1005 Information System and Development ระบบสารสนเทศและ การพัฒนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google