งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ

2 คณะกรรมการกองทุน คือใคร ? กลุ่มบุคคลที่เป็นตัวแทนของสมาชิก ( นายจ้างและลูกจ้าง ) เพื่อมาทำหน้าที่บริหารจัดการ กองทุน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ของกองทุนที่ตั้งไว้

3 Fiduciary Duty 1.Duty of loyalty 2 Duty of care 3 Duty to monitor

4 Duty of loyalty (1) ไม่ตัดสินใจหรือกระทำการใดๆ ที่จะทำ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับ กองทุนหรือประโยชน์ของสมาชิก (2) มีจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่หา ประโยชน์ส่วนตน รวมทั้งการไม่เรียกร้อง ประโยชน์ใดๆ ตอบแทนในทางมิชอบ

5 Duty of care ( 1) การพยายามระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของสมาชิกและ กองทุนให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ (2) กำหนดวัตถุประสงค์ / นโยบายการ ลงทุนของกองทุน โดยคำนึงถึง - ความเหมาะสมกับปัจจัยองค์ประกอบ ต่างๆ ของ สมาชิกและของกองทุน - การกระจายความเสี่ยงของเงินลงทุน - ผลตอบแทนจากการลงทุน (3) คัดเลือกบริษัทจัดการ โดยมีการกำหนด แนวทาง การคัดเลือกที่เหมาะสม

6 Duty to monitor (1) ติดตามกำกับดูแลเพื่อให้มั่นใจได้ว่า บริษัทจัดการลงทุน ให้เหมาะสมเป็นไปตามนโยบายการ ลงทุนของกองทุน (2) กำหนด benchmark ผลตอบแทนจาก การลงทุน ( ตัวชี้วัด ) สำหรับเป็นเครื่องมือที่ใช้ วัดผลการดำเนินงาน ของกองทุนโดยอาจเป็นการหารือ ร่วมกันกับบริษัทจัดการ เพื่อกำหนดอัตราที่สมเหตุสมผล และ ยอมรับได้ ของทั้งสองฝ่าย (3) ควบคุมดูแลการตีราคาหลักทรัพย์ให้ เป็นไปอย่างเป็นธรรม

7 หน้าที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน งานบริหารจัดการทั่วไป งานบริหารเงินกองทุน งานสนับสนุนให้สมาชิกเลือกนโยบาย ลงทุนด้วยตนเอง งานจัดทำและแก้ไขข้อบังคับ งานสมาชิกสัมพันธ์

8 งานบริหารงานทั่วไป งานควบคุมและแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน งานจัดประชุม งานรับสมัครสมาชิกกองทุนและแจ้งสมาชิก เมื่อสิ้นสภาพ งานจัดทำทะเบียนสมาชิก งานควบคุมการรับ-จ่ายเงินกองทุน การจ่ายเงินออกเมื่อสมาชิกสิ้นสภาพ

9 งานบริหารเงินกองทุน งานคัดเลือกผู้จัดการกองทุน งานคัดเลือกผู้ดูแลทรัพย์สิน งานกำหนดนโยบายและกลยุทธ์การลงทุน งานกำกับและตรวจสอบการลงทุน

10 งานสนับสนุนให้สมาชิก เลือกนโยบายการลงทุน –ความสำคัญของการมี Employee's choice ให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในการเลือกรูปแบบในการ บริหารเงินกองทุน ลดแรงกดดันของคณะกรรมการกองทุนฯ –ขั้นตอนในการเปิดให้มี Employee's choice คณะกรรมการต้องกำหนดนโยบายและกลยุทธ์การจัดตั้ง ให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สมาชิกอย่างเพียงพอ และครอบคลุม จัดให้มีการเลือกรูปแบบการลงทุน ประเมินความเหมาะสมและรูปแบบที่ควรจะมี เตรียมการแก้ไขข้อบังคับ คัดเลือกผู้จัดการ พัฒนา ระบบงาน ให้สมาชิกแจ้งความประสงค์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร แยกเงินกองทุน บริหารกองทุน

11 งานจัดทำและแก้ไขข้อบังคับ –ความสำคัญของข้อบังคับ –ผู้มีอำนาจในการแก้ไขข้อบังคับ –องค์ประกอบของข้อบังคับ –ขั้นตอนในการดำเนินการ

12 งานสมาชิกสัมพันธ์ –การเปิดเผยข้อบังคับ –การให้ความรู้ความเข้าใจแก่สมาชิก –การแจ้งผลการดำเนินงานกองทุน –การแจ้งสถานะเงินกองทุนฯเป็นรายสมาชิก –การให้ข้อมูลอื่นๆ

13 สมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ –เป็นการรวมตัวของบรรดากองทุนสำรองเลี้ยงชีพภาครัฐวิสาหกิจและ เอกชน เพื่อเป็นศูนย์กลางการพัฒนาระบบการกองทุนฯ เผยแพร่ให้ ความรู้การบริหารจัดการกองทุน ประสานงานกับส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและต่างประเทศปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 200 กองทุน มีขนาดของ NAV ทั้งระบบประมาณ 80% –บริหารงานในรูปคณะกรรมการจากผู้แทนกองทุนฯ และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 18 คน ปัจจุบัน มีดร. พิสิฐ ลี้อาธรรม เป็นนายกสมาคม –ประโยชน์กองทุนที่เป็นสมาชิก ได้ความรู้ ความเคลื่อนไหวในการ บริหารจัดการกองทุนผ่านวารสารสมาคม ฯ ข่าวสมาคม (ฟรี) เข้าร่วมสัมมนา (ฟรี) เข้ารับการอบรม (ลด 20%) ความช่วยเหลือ ในการจัดการกองทุน ฯลฯ –ค่าสมาชิก แรกเข้า (ฟรี) ค่าธรรมเนียมรายปี ปีละ 1,000 บาท –ติดต่อ : ที่ทำการ : 140/42 ซ. นาคสุวรรณ ถ.นนทรี เขตยานนาวา กทม. (10120) โทร : 02-294-7430 -2 โทรสาร : 02-284-3934 Web site : AOP.OR.TH Email : office@aop.or.th

14 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt คณะกรรมการกองทุน..... บทบาทเพื่อสมาชิก โดย นายธารทอง ไตรน รพงศ์ อุปนายกสมาคมกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google