ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักสูตรการประเมินองค์กรด้วยตนเองสำหรับคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
2
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
3
แผนการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ วางหลักเกณฑ์รางวัล “คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ” (Public Sector Management Quality Award - PMQA) จัดวางระบบการดำเนินงาน และการสร้างความพร้อม ให้ส่วนราชการต่าง ๆ การสร้างความรู้ความเข้าใจ การเตรียมความพร้อมให้ ส่วนราชการต่างๆ โดยการสร้างผู้ตรวจประเมินภายใน และวิทยากรตัวคูณ สร้างกลไกภายในสำนักงาน ก.พ.ร. สนับสนุนให้ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ สนับสนุน ส่งเสริม ส่วนราชการให้ยกระดับการปฏิบัติงานเพื่อขอสมัครเข้ารับรางวัล เตรียมการวางระบบผู้ตรวจประเมินรางวัล เพื่อตรวจประเมิน ตัดสินให้รางวัล ส่งเสริมให้มีหน่วยงานต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
4
การดำเนินการตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
การดำเนินการตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
5
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
6
มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร
มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารจัดการองค์กร ตัวชี้วัดที่ 14 (จังหวัด) ตัวชี้วัดที่ 18 (ส่วนราชการ) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก จังหวัด : ร้อยละ ส่วนราชการ : ร้อยละ 3
7
รายละเอียดการดำเนินการ
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน รายละเอียดการดำเนินการ ระดับ 1 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐแก่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ / จังหวัด / มหาวิทยาลัย ระดับ 2 จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐของส่วนราชการ / จังหวัด / มหาวิทยาลัย จัดทำแผนดำเนินการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละ หมวด (Category Champion) ตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ขออนุมัติแผนดำเนินการต่อผู้บังคับบัญชา ระดับ 3 จัดอบรมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการประเมิน องค์กรด้วยตนเอง ระดับ 4 ความครบถ้วนของการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ระดับ 5 ความครบถ้วนในการจัดทำเอกสารรายงานผลการ ดำเนินการเบื้องต้น
8
ขอบเขตการดำเนินการตามตัวชี้วัด
ระดับกรม ให้ดำเนินการทุกหน่วยงานรวมถึง หน่วยงานที่เป็นราชการส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคด้วย ระดับจังหวัด ให้เลือกดำเนินการอย่างน้อย 1 อำเภอ โดยหน่วยงานที่นำมาดำเนินการให้หมายถึง ส่วนราชการประจำอำเภอเท่านั้นแต่อาจนำ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมดำเนินการด้วยได้
9
ส่วนราชการประจำอำเภอ
สนง. สัสดีอำเภอ ที่ทำการปกครองอำเภอ สนง. พัฒนาชุมชน อำเภอ สนง.สาธารณสุข อำเภอ สนง. เกษตรอำเภอ สนง. ประมงอำเภอ สนง. ที่ดินอำเภอ สนง. ปศุสัตว์อำเภอ ส่วนราชการอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในอำเภอ สำนักพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม ท้องถิ่น ป่าไม้ การศึกษานอกโรงเรียน โรงพยาบาล - ตำรวจภูธร - หมวดการทาง สรรพากร การป้องกันและรักษาป่า ฯลฯ
10
จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ระดับคะแนน 1 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ กรม / จังหวัด ต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงให้ความรู้แก่ข้าราชการในสังกัด โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร สำหรับระดับจังหวัดนอกจากจะให้ความรู้แก่ข้าราชการในส่วนราชการประจำอำเภอแล้ว อาจให้หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุมดังกล่าวด้วย จัดประชุมชี้แจงอย่างน้อย 1 ครั้ง 3 ชั่วโมง
11
จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการและจัดทำแผนดำเนินการ พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ
ระดับคะแนน 2 จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการและจัดทำแผนดำเนินการ พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ คณะทำงานดำเนินการควรประกอบด้วย 2 คณะ คือ 1. คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการฯ (Steering Committee) 2. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team)
12
แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับกรม
ผู้บริหารสูงสุด อธิบดี / เลขาธิการ (CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองอธิบดี /รองเลขาธิการ) ผู้บริหารระดับรอง (ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง) ผู้บริหารระดับรอง รองอธิบดี/รองเลขาธิการ (CCO) เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร
13
แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับกรม
รองประธาน Steering Committee (รองอธิบดี/รองเลขาธิการ) ทำหน้าที่ประธาน Working Team Category Champion Members เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) เลขานุการ หน้าที่ : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเอง และจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ
14
แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับจังหวัด
ผู้บริหารสูงสุด (ผู้ว่าราชการจังหวัด CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ผู้บริหารระดับรอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด (CCO) นายอำเภอ (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร
15
แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับจังหวัด
รองประธาน Steering Committee (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) ทำหน้าที่ประธาน Working Team นายอำเภอ ทำหน้าที่รองประธาน Working Team หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ Category Champion เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) Members เลขานุการ หน้าที่ : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเอง และจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ
16
แผนดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย
1. กิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการ 2. ระยะเวลาในการดำเนินการ 3. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม
17
แผนดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวอย่าง
18
ระดับคะแนน 3 อบรมคณะทำงาน ส่วนราชการ / จังหวัด คัดเลือกตัวแทนจากคณะทำงาน จำนวน 6 คน (ตัวแทนหมวดละ 1 คน) เข้ารับการอบรมตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัด ทีมที่เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปถ่ายทอดให้คณะทำงานของตน
19
จำนวนผู้ผ่าน การอบรม 6 5 4 3 1 - 2 คะแนนที่ได้ 0.75 0.6 0.5 0.4 0.25
การพิจารณาการให้คะแนนในระดับขั้นตอนนี้แบ่งออก 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พิจารณาจากจำนวนผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ( 0.75 คะแนน) ผู้ที่มีเวลาเข้ารับการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่าผ่านการอบรม จำนวนผู้ผ่าน การอบรม 6 5 4 3 1 - 2 คะแนนที่ได้ 0.75 0.6 0.5 0.4 0.25 ส่วนที่ 2 พิจารณาจากการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปถ่ายทอด (0.25 คะแนน)
20
ความครบถ้วนของการจัดทำ ลักษณะสำคัญขององค์กร
ระดับคะแนน 4 ความครบถ้วนของการจัดทำ ลักษณะสำคัญขององค์กร อธิบายลักษณะองค์กรและความท้าทายต่อองค์กร ตอบคำถามตาม Template รวม 15 ข้อ
21
แนวทางการตอบคำถาม คำถามที่มีเครื่องหมาย # ต้องตอบโดยมีข้อมูลสารสนเทศในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย # เรื่องใดยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบ ยังไม่ทราบมาก่อนว่าจะต้องดำเนินการในเรื่องนี้ ในขั้นต่อไปจะดำเนินการโดย ทราบว่าต้องดำเนินการ ทราบวิธีการ แต่ยังไม่ได้มีการดำเนินการใด ๆ ในขณะนี้ เพราะ ในขั้นต่อไปจะดำเนินการโดย ทราบว่าต้องดำเนินการ แต่ไม่ทราบวิธีการมาก่อน ในขั้นต่อไปจะได้นำเทคนิคทางการบริหารหรือดำเนินการโดย …… คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบ “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้”
22
คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อ ที่ส่วนราชการตอบ
จำนวนข้อที่ตอบ คำถาม 3 6 9 12 15 คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
23
ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสาร รายงานผลการดำเนินงานเบื้องต้น
ระดับคะแนน 5 ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสาร รายงานผลการดำเนินงานเบื้องต้น อธิบายและตอบคำถามตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด รวม 90 ข้อ แนวทางการตอบคำถาม เช่นเดียวกับระดับ 4
24
คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ ส่วนราชการตอบคำถาม
จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 30 45 60 75 90 คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0
25
รายงานผลการประเมิน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ระดับขั้นตอนการดำเนินการ คะแนนที่ได้รับ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 คะแนนรวม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.