ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
2
Classical Theory and The Keynesian Revolution
3
Classical Theory Classical Economist : Adam Smith
ก่อน ค.ศ นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง (individual products) เพราะเชื่อว่า “เศรษฐกิจอาจมีการว่างงานได้ชั่วคราว แต่ในที่สุดเศรษฐกิจก็จะกลับสู่ภาวะมีการจ้างงานเต็มที่ได้เองในที่สุด” Say’s Law “Supply creates its own Demand”
4
Keynesian School of Economics
Keynesian Economics : John Maynard Keynes -ในช่วงปี ค.ศ เกิดปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรงที่สุด - เศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้เองตามที่เชื่อกันในสมัยนั้น - เคนส์ได้เขียนตำรา ชื่อ “ The General Theory of Employment, Interest and Money ” และได้เสนอแนวคิดว่า “อัตราการว่างงานและผลผลิตของชาติอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้เสมอตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้ก็เพราะระดับรายได้ประชาชาติกับระดับการจ้างงานนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด”
5
จึงได้เสนอทฤษฎีเศรษฐศสาตร์ใหม่ สรุปได้ว่า “ภาวการณ์ว่างงานเป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และไม่อาจปรับตัวเข้าหาดุลยภาพได้ด้วยตัวเอง” J.M. Keynes “Demand creates its own Supply” เคนส์จึงได้สร้าง “ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติ” ขึ้นทฤษฎีนี้อธิบายได้ว่า “ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม จะเป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ”
6
AD / DAE < , > , = AS / NI
Desired Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) หรือ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) (AD) ทั้งนี้ ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในระบบเศรษฐกิจ AD / DAE < , > , = AS / NI
7
องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE)
1. รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) และการออม (S) 2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) 3. รายจ่ายของภาครัฐบาล (G) 4. การส่งออกสุทฺธิ (X-M)
8
รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C] and Saving [S]
9
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (Disposable Income) รายได้ C S รายได้ C S
10
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพคล่อง คือ สิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน (Money) ได้แก่ เงินสด เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจำ พันธบัตร ทองคำ หุ้น และที่ดิน ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและ ไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก
11
> C ก C ข นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน
นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท C ก C ข >
12
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
3. สินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่ สินค้าคงทน C S S สินค้าคงทน C
13
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ รายได้ในอนาคต รายได้ในอนาคต C S รายได้ในอนาคต S C
14
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
4. การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ ราคาสินค้าในอนาคต ราคาในอนาคต S C ราคาในอนาคต S C
15
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย (เงินดาวน์และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้) เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C S เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C S
16
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
5. อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยเงินฝาก C S ดอกเบี้ยเงินฝาก S C
17
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
6. ค่านิยมทางสังคม ค่านิยมฟุ่มเฟือย C S ค่านิยมประหยัด S C
18
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร อัตราประชากร C S อัตราประชากร S C
19
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม
7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร ประชากรในวัยทำงาน C S ประชากรในวัยทำงาน S C
20
ฟังก์ชั่นการบริโภคของบุคคล
C = f ( Yd, A1, A2, A3, …ฯลฯ ) C คือ รายจ่ายเพื่อการบริโภค Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,…ฯลฯ คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ
21
ฟังก์ชั่นการบริโภคในระยะสั้นของบุคคล
Consumption Function จาก C = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) ในระยะสั้น Consumption Function คือ C = f (Yd )
22
ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภค
ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคล (บาท) ระดับการใช้จ่ายบริโภค (บาท) 1.000 750 2,000 1,500 3,000 2,250 4,000
23
สมการการบริโภคของบุคคล
C = a + b Yd โดยที่ a คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ b คือ ค่าความชันของการบริโภค Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้
24
การบริโภค (C) C = a + b Yd a รายได้ (Yd)
25
ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค (Average Propensity to Consume : APC)
อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ C Yd APC =
26
พฤติกรรมการใช้จ่ายของบุคคล มี 3 แบบ
บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเกินกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C > Yd) 2. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเท่ากับ รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C = Yd) 3. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคน้อยกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น (C < Yd)
27
C = a + bYd C C B A Yd Y1 Y2 Y3 C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 y1=300
y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500
28
APC A APC B C = Yd ; APC = 1 APC c C Yd ; APC 1 C Yd ; APC 1
= 1.08 C Yd ; APC 1 APC B C = 400 Y C = Yd ; APC = 1 = 1.00 APC c C Yd ; APC 1 C = 475 Y =
29
C Yd ; APC 1 C = Yd ; APC = 1 C Yd ; APC 1 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APC จะมี ค่าลดลงเรื่อย ๆ ด้วย
30
ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค (Marginal Propensity to Consume : MPC)
อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C Yd C2 - C1 Yd2 - Yd1 MPC = =
31
เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น C จะเพิ่มขึ้น
แต่ C จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 จากทฤษฎีของ Keynes กล่าวไว้ว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1
32
C = a + bYd C C B A a Yd Y1 Y2 Y3 C3 = 475 C2 = 400 C1= 325 y1=300
y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500
33
MPC (A - B) เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1 C = C2 – C1 = 400 - 325
Y Yd1 – Yd = 100 = เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1
34
ฟังก์ชั่นการออมของบุคคล
S = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) S คือ การออม Yd คือ รายได้สุทธิ หรือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI) A1, A2, A3,..ฯลฯ คือ ปัจจัยอื่นๆ เมื่อ
35
ฟังก์ชั่นการออมในระยะสั้นของบุคคล
Saving Function จาก s = f ( Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) ในระยะสั้น Saving Function คือ S = f (Yd )
36
จาก Yd = C + S ฟังก์ชันการออม S = f (Yd ) ดังนั้น เงินออม คือ รายได้สุทธิส่วนที่เหลือจากการใช้จ่าย ก็จะได้ S = Yd – C และจากสมการการบริโภค C = a + bYd แทนค่าสมการ S = Yd – a – bYd ดังนั้นจะได้สมการการออม คือ S = – a + (1-b) Yd
37
สมการการออมของบุคคล S = -a+ (1-b) Yd โดยที่
Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)
38
การออม (S) S = -a + (1-b)Yd saving รายได้ (Yd) Dissaving -a
39
ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม (Average Propensity to Save : APS)
อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ S Yd APS =
40
การออม (S) S = -a + (1-b)Yd รายได้ (Yd) C B A s3 = 25 Y1=300 Y2=400
Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s2 = 0 -a
41
APS A APS B S = 0 ; APS = 0 APS c S = -25 Yd 300 = - 0.08
= S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ APS B S = 0 Yd S = 0 ; APS = 0 หรือมีค่าเท่ากับ 0 = 0 APS c S 0 ; APS 0 หรือมีค่าเป็นบวก S = 25 Yd =
42
S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APS จะมี ค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน
43
ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย (Marginal Propensity to Save : MPS)
อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S Yd S2 - S1 Yd2 - Yd1 MPS = =
44
เมื่อ Yd เพิ่มขึ้น S จะเพิ่มขึ้น
แต่ S จะเพิ่มขึ้นน้อยกว่า Yd ที่เพิ่มขึ้น MPS > 0 MPS < 1 ตามหลักของ Keynes ที่กล่าวว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1
45
การออม (S) S = -a + (1-b)Yd รายได้ (Yd) C B A s3 = 25 Y1=300 Y2=400
Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s1 = 0 -a
46
MPS (A – B) เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1 S = C2 – C1 = 0 – (-25)
Yd Yd1 – Yd = 100 = เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1
47
ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS
Yd = APC = , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C S ถ้า Yd = 1 Yd = APC + APS
48
Yd = C + S ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS MPC = 0.75 , MPS = 0.25
ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C S ถ้า Yd = 1 Yd = C S Yd = MPC ดังนั้น = C S + MPS
49
C = Yd Yd C , S C = a + bYd S = -a + (1-b)Yd -a C < Yd ; APC <1
S > 0 ; APS > 0 45 S = 0 ; APS = 0 Yd S < 0 ; APS < 0 -a
50
การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (C) และการออม (S)
การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและเส้นการออม (move along the curve) การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม หรือการเคลื่อนขึ้นหรือเคลื่อนลงของเส้นการบริโภคและการออมทั้งเส้น (change in or shift in consumption and saving function)
51
1. การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและการออม
เกิดขึ้นเมื่อกำหนดให้ปัจจัยอื่น ๆ ที่กำหนดการบริโภคและการออมคงที่ โดยให้มีเพียงการเปลี่ยนแปลงในรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเท่านั้น เมื่อรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงเปลี่ยนก็จะมีผลทำให้ระดับการบริโภคและการออมเปลี่ยนแปลงเช่นกัน โดยการเปลี่ยนแปลงจะเลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งบนเส้นการบริโภคและการออมเส้นเดิม
52
C , S C C2 C1 C3 S S2 S1 S3 Yd Yd3 Yd1 Yd2
53
2. การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม
เกิดขึ้นเมื่อให้ปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมเปลี่ยนแปลง แต่รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริงไม่มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อปัจจัยอื่น ๆ เปลี่ยน โดยที่รายได้คงที่ ก็จะส่งผลทำให้เส้นการบริโภคและเส้นการออม เคลื่อนขึ้นทั้งเส้น หรือเคลื่อนลงทั้งเส้นในทางตรงกันข้าม กล่าวคือ ถ้าเส้นการบริโภคเคลื่อนขึ้นไป เส้นการออมจะต้องเคลื่อนลงมาทั้งเส้น แต่ถ้าเส้นการบริโภคเคลื่อนลงมา เส้นการออมก็จะเคลื่อนขึ้นไปทั้งเส้น นอกจากนี้การเคลื่อนขึ้นลงของเส้นทั้ง 2 จะต้องมีช่วงห่างจากเส้นเดิมในจำนวนทีเท่า ๆ กันด้วย
54
C2 C , S C1 C3 S3 S1 S2 Yd Yd1
55
การบริโภคมวลรวม (Aggregata Comsumption) และ การออมมวลรวม (Aggregata Saving)
56
ฟังก์ชันการบริโภคและการออมมวลรวมในระยะสั้น
การหาการใช้จ่ายในการบริโภคของระบบเศรษฐกิจ ณ ระดับรายได้ต่าง ๆ สามารถหาได้โดยการรวมค่าใช้จ่ายในการบริโภคของบุคคลต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ ณ ระดับรายได้นั้นเข้าด้วยกัน ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมของระบบเศรษฐกิจจะเป็นปัจจัยตัวเดียวกันกับปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการบริโภคและการออมของบุคคล ฟังก์ชันการบริโภคและการออมของระบบเศรษฐกิจจะมีคุณสมบัติต่าง ๆ เช่นเดียวกันกับฟังก์ชันการบริโภคและการออมของบุคคล
57
สมการ ตาราง เส้นการบริโภคและการออมมวลรวม
สมการ ตาราง เส้นการบริโภคและการออมมวลรวม เส้น 45 องศา เป็นเส้นที่แบ่งครึ่งระหว่างแกนรายจ่ายเพื่อการบริโภคกับแกนรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง เส้น 45 องศา เป็นเส้นที่แสดงถึงภาวะการณ์ที่รายจ่ายเพื่อการบริโภคมีค่าเท่ากับรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง ทุก ๆ จุดบนเส้น 45 องศา จะแสดงถึงระดับรายได้ดุลยภาพ ใช้เป็นเส้นที่สำคัญยิ่งในการวิเคราะห์ระดับรายได้ดุลยภาพ ดังนั้นจึงเขียนเป็นสมการและรูปกราฟได้ดังนี้
58
รายจ่ายเพื่อการบริโภคมวลรวม (C)
C = Yd 45 รายได้ประชาชาติ (Yd)
59
สมการการบริโภคและการออมมวลรวม
สมการการบริโภคมวลรวม C = Ca + bYd สมการการออม มวลรวม S = -Sa + (1-b)Yd โดยที่ Ca คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ Sa คือ การออมเมื่อรายได้เป็นศูนย์ ซึ่งเท่ากับ - Ca b คือ MPC = C Yd
60
0.25 - 0.75 0.12 0.11 0.08 0.05 -0.08 -0.25 -0.75 0.88 0.89 0.92 0.95 1.00 1.08 1.25 1.75 100 75 50 25 -25 -50 -75 -100 700 800 625 550 600 475 500 400 325 300 250 200 175 MPS MPC APS APC S C Yd
61
ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)
C Yd C, S 100 -100 200 400 600 800 300 500 700 S C = Yd ระดับรายได้เสมอตัว (Break even)
62
720 800 640 700 560 600 480 500 400 320 300 240 200 160 100 80 MPS MPC APS APC S C Yd
63
0.20 - 0.80 0.10 0.09 0.07 0.04 -0.06 -0.20 -0.60 0.90 0.91 0.93 0.96 1.00 1.06 1.20 1.60 80 60 40 20 -20 -40 -60 -80 720 800 640 700 560 600 480 500 400 320 300 240 200 160 100 MPS MPC APS APC S C Yd
64
การบริโภค (C) C = Yd 80 รายได้ (Yd)
65
การออม (S) S = Yd รายได้ (Yd) -80
66
จงหาสมการการออมจากสมการการบริโภคต่อไปนี้
1) C = Yd 1) S = Yd 2) C = Yd 2) S = Yd 3) C = Yd 3) S = Yd 4) C = Yd 4) S = Yd
67
จงหาสมการการบริโภคจากสมการการออมต่อไปนี้
1) S = Yd 1) C = Yd 2) S = Yd 2) C = Yd 3) S = Yd 3) C = Yd 4) S = Yd 4) C = Yd
68
จงหา BREAK- EVEN จากสมการการบริโภคที่กำหนดให้
1) C = Yd 500 1,000 2) C = Yd 3) C = Yd 3,000
69
จงหา BREAK -EVEN จากสมการการออมที่กำหนดให้
1) S = Yd 1,000 1,250 2) S = Yd 3) S = Yd 2,500
70
จงวาดรูปกราฟสมการการบริโภคและการออมลงบนพื้นที่แกนเดียวกัน
ถ้ากำหนดสมการมาให้ดังนี้ 1) S = Yd 2) S = Yd 3) C = Yd
71
C , S C = Yd C = Yd S = Yd 660 45 Yd -660
72
C , S C = Yd C = Yd S = Yd 720 45 Yd -720
73
C , S C = Yd C = Yd S = Yd 1400 45 Yd -1400
74
รายจ่ายเพื่อการลงทุน
Investment Expenditure [I]
75
การลงทุน (Investment : I)
ค่าใช้จ่ายในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods) การใช้จ่ายโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ ทำให้ การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิ่มขึ้น
76
การซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร การซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสอง ไม่ถือเป็นการลงทุน แต่เป็นการลงทุนทาง การเงิน (Financial Investment)
77
ปัจจัยกำหนดการลงทุน ระดับรายได้ประชาชาติและการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบี้ย กำไรที่คาดว่าจะได้รับ ความจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นโยบายของรัฐบาลและเสถียรภาพทางการเมือง
78
ฟังก์ชั่นการลงทุน เมื่อ I = f ( Y, A1, A2, A3, … )
79
ประเภทของการลงทุน การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment) การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)
80
เส้นการลงทุนโดยอิสระ
I Y Ia
81
เส้นการลงทุนโดยจูงใจ
I Y I = iY
82
สมการการลงทุนมวลรวม (I)
I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY I = การลงทุนมวลรวม Ia = การลงทุนแบบอิสระ Ii = การลงทุนแบบชักจูง i = ความโน้มเอียงในการลงทุนหน่วยสุดท้าย ( MPI = I ) Y
83
เส้นการลงทุนมวลรวม I I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY Ii Ia Ia Y
84
การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการลงทุนมวลรวม
I I = Ia + iY B I2 A I1 c I3 Ia Y Y3 Y1 Y2
85
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการลงทุนมวลรวม
I I2 I1 I3 Y Y1
86
Y Ia Ii I = Ia + Ii API MPI 300 30 60 310 62 320 64 330 66
87
Y Ia Ii I = Ia + Ii API MPI 300 30 60 90 90/300 = 0.30 - 310 62 92 92/310= 0.297 0.2 320 64 94 94/320 = 0.294 330 66 96 96/330 = 0.291
88
จากตาราง จะเขียนสมการการลงทุนมวลรวมได้ว่าอย่างไร
จากสมการการลงทุนมวลรวม I = Ia + Ii หรือ I = Ia + iY จะได้ I = Y
89
ถ้าระดับรายได้ประชาชาติ (Y) เท่ากับ 400 การลงทุนมวลรวม (I) จะมีค่าเท่ากับเท่าไหร่
จากสมการการลงทุนมวลรวม I = Y แทนค่า Y = ในสมการ จะได้ I = (400) I = 110
90
Government Expenditure [G]
รายจ่ายของรัฐบาล Government Expenditure [G]
91
ปัจจัยกำหนดการใช้จ่ายของรัฐบาล
รายรับของรัฐบาล ได้แก่ รายได้จากภาษีอากรรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรและเงินกู้ นโยบายการคลังของรัฐบาล แบ่งเป็น 2 แบบ คือ นโยบายการคลังแบบขยายตัว และ นโยบายการคลังแบบหดตัว
92
เส้นการใช้จ่ายของรัฐบาลและการเปลี่ยนแปลงของเส้นการใช้จ่ายรัฐบาล
G Y G2 G1 G3
93
การส่งออกและการนำเข้า
Export-Import [X-M]
94
ปัจจัยกำหนดความต้องการส่งออก
นโยบายส่งเสริมการส่งออกของรัฐบาล เช่น การลดภาษีส่งออก การขยายตลาดในต่างประเทศ การลด/ยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบ เป็นต้น ราคาสินค้าออก จะส่งสินค้าออกได้มากถ้าราคาสินค้าส่งออกของประเทศต่ำกว่าตลาดต่างประเทศ ความต้องการของตลาดต่างประเทศ หากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า/โลกอยู่ในเกณฑ์ดี ก็จะส่งออกได้มาก
95
เส้นความต้องการส่งออกและการเปลี่ยนแปลงของเส้นการส่งออก
X Y X2 X1 X3
96
ปัจจัยกำหนดความต้องการนำเข้า
รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง อุปนิสัยในการใช้จ่ายของผู้บริโภค สินเชื่อเพื่อการบริโภค/เพื่อการสั่งเข้า และอัตราดอกเบี้ย การคาดการณ์ของผู้บริโภค ค่านิยมของการใช้สินค้านอก ปัจจัยอื่นๆ
97
สมการและเส้นความต้องการสั่งเข้า
M Y M = Ma + mY Ma
98
การเปลี่ยนแปลงมูลค่าการสั่งเข้า
M M = Ma + mY B M2 A M1 C M3 Ma Y Y3 Y1 Y2
99
การเปลี่ยนแปลงการสั่งเข้า
M M2 M2 M1 M1 M3 M3 Y Y1
100
การส่งออกสุทธิ M,X M = Ma + mY Xa = 0 Xa < 0 X = Xa Xa > 0 Y Y
101
สรุป ในบทที่ 3 ที่เราศึกษามาแล้วนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า
สรุป ในบทที่ 3 ที่เราศึกษามาแล้วนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า “ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเป็นตัวแปรที่กำหนดรายได้ประชาชาติ” นั่นคือ DAE = C + I + G + (X-M) *** และถ้าองค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลทำให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งจะได้ไปเรียนต่อในบทที่ 4 เรื่องการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
102
โดยที่ C = Ca + bYd ; S = -Ca + (1-b)Yd I = Ia + iYd G = Ga X = Xa
M = Ma + mYd
103
YE ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) DAE = Y รายได้ประชาชาติ (Y) E DAE E
DAE = C + I + G + (X-M) E DAE E 45 รายได้ประชาชาติ (Y) YE
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.