งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

2 ความยืดหยุ่น (Elasticity)
การวัดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อหรือปริมาณขายสินค้าต่อการเปลี่ยนแปลงของ ตัวกำหนดปริมาณซื้อหรือปริมาณขายนั้น

3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Price Elasticity of Demand)

4 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand : Ed )
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น Ed = % Q % P

5 วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)

6 การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Q P1 P2 Q1 Q2 A B P1 : ราคาเดิม P2 : ราคาใหม่ Q1 : ปริมาณเดิม Q2 : ปริมาณใหม่ ความยืดหยุ่น ณ จุด A เท่ากับ ? Q เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เมื่อ P เพิ่มขึ้น

7 ถ้าเดิม ปริมาณเท่ากับ 100 ทำให้ Q =
Ed = % P ถ้าเดิม ปริมาณเท่ากับ 100 ทำให้ Q = Q1 - Q2 Q1 x 100 ถ้าเดิม ปริมาณเท่ากับ Q1 ทำให้ Q = Q1 - Q2

8 Q1 - Q2 Q1 x 100 % Q = P1 - P2 P1 % P =

9 Ed = % Q % P = Q1 - Q2 Q1 x 100 P1 - P2 P1 x

10 Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Q2 - Q1 P2 - P1

11 สมมติจะมีการจัดแสดงดนตรี ถ้าตั้งราคาบัตรไว้ที่ 250 บาท พบว่าจะสามารถขายบัตรได้ 600 บัตร แต่ถ้าเพิ่มราคาบัตรเป็น 350 บาท จะขายบัตรได้ 350 บัตร ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเท่ากับเท่าใด P1 : 250 บาท Q1 : 600 บัตร P2 : 350 บาท Q2 : 350 บัตร

12 Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Ed = 600 250 = 100 1.04

13 ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 1.04%
Ed = 1.04 ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป % ในทิศทางตรงข้าม ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 1.04% ถ้าราคาลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น 1.04%

14 P Q 250 350 600 A B Ed = Ed = ?

15 Ed = = P1 : 350 บาท Q1 : 350 บัตร P2 : 250 บาท Q2 : 600 บัตร Q1 - Q2
P1 - P2 P1 x Ed = 350 = 250 100 2.5

16 P Q 250 350 600 A B Ed = Ed =

17 การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
Ed = % Q % P : เทียบการเปลี่ยนแปลงกับค่าเฉลี่ยของ P หรือ Q

18 เดิม Q เท่ากับ Q1 ทำให้ Q = Q1 - Q2
x 100 เดิม Q เท่ากับ ทำให้ Q =

19 % Q = Q1 - Q2 x 100 Q1 + Q2 2 % P = P1 - P2 P1 + P2

20 Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x = x 100 2

21 Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x

22 สมมติจะมีการจัดแสดงดนตรี ถ้าตั้งราคาบัตรไว้ที่ 250 บาท พบว่าจะสามารถขายบัตรได้ 600 บัตร แต่ถ้าเพิ่มราคาบัตรเป็น 350 บาท จะขายบัตรได้ 350 บัตร ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคามีค่าเท่ากับเท่าใด P1 : 250 บาท Q1 : 600 บัตร P2 : 350 บาท Q2 : 350 บัตร

23 Ed = = Q1 - Q2 P1 + P2 P1 - P2 Q1 + Q2 600 - 350 250 + 350 x 250 - 350
x = 250 950 100 600 1.58 Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 Ed =

24 ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 1.58% โดยเฉลี่ย
Ed = 1.58 ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป % โดยเฉลี่ย ในทิศทางตรงข้าม ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 1.58% โดยเฉลี่ย ถ้าราคาลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น 1.58% โดยเฉลี่ย

25 Ed = = P1 : 350 บาท Q1 : 350 บัตร P2 : 250 บาท Q2 : 600 บัตร 350 - 600
x = 250 950 100 600 1.58 Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 Ed =

26 P Q 250 350 600 A B Ed =

27 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย
350 P Q อุปสงค์ต่อบัตรดนตรี D ผู้บริโภคจ่าย ? = 122,500 รายรับของผู้ขาย = 350 x 350 (TR) (P x Q) B

28 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย
Ed = % Q % P ถ้า % Q > % P   Ed  > 1 ถ้า % Q < % P   Ed  < 1 ถ้า % Q = % P   Ed  = 1 ถ้า % Q =   Ed  = 0 ถ้า % P =   Ed  = 

29 Price Elasticity of Demand

30 1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < )
% Q > % P P Q 4 5 100 50 TR x = 1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < )

31 P Q % Q < % P 4 5 100 90 TR x = 2. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Demand ; 0 <  Ed  < 1)

32 3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ;  Ed  = 1)
% Q = % P 4 5 100 80 400 บาท P TR คงที่ Q 3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ;  Ed  = 1)

33 D P Q % P = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อ 4 50 100
4. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Demand ; Ed = )

34 P Q % Q = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา 4 D 100 5 5. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Demand ; Ed = 0)

35 สรุป  Ed  = 1 ความ ยืดหยุ่น ค่าความ ยืดหยุ่น การเปลี่ยนแปลงราคา
ราคาเพิ่ม ราคาลด Elastic 1 < Ed <  รายได้รวมลดลง รายได้รวมเพิ่มขึ้น Unitary Elastic  Ed  = 1 รายได้รวมคงที่ Inelastic 0 <  Ed  < 1

36 กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง ค่าความยืดหยุ่นจะไม่เท่ากันทุกจุด
P Q 250 350 600 A B Ed = Ed = กรณีที่เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรง ค่าความยืดหยุ่นจะไม่เท่ากันทุกจุด

37 P Q A B กำหนดให้ C เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง AB ถ้าเดิมราคา OP เพิ่มขึ้นเป็น OA ความยืดหยุ่น ณ จุด C เท่ากับ ? P1 = OP Q1 = OQ P2 = OA Q2 = O C

38 = Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x P Q A B C OQ - O OQ OP - OA
OQ - O OQ OP - OA OP AP

39 P Q A B C Ed = OP AP CQ APC และ เป็นสามเหลี่ยมคล้าย = BQ PC BC AC = 1

40 CQ AP = BQ PC BC AC = 1 P Q A B C Ed = จาก = – 1 Ed = = 1 Ed ณ จุด C

41  Ed  = < 1 ณ จุด N > 1 ณ จุด A = 0 ณ จุด B P Ed ณ จุด M = ? A
Q A B M Ed ณ จุด M = ?  Ed  = BM AM < 1 BN AN > 1 ณ จุด N N ณ จุด A ณ จุด B AB O =  = 0

42 Ed =  Ed = 1 Ed = 0 P TR Q 1 < Ed < 
Ed = 1 Ed = 0 Ed =  1 < Ed <  0 < Ed < 1 TR

43 Ed =  Ed = 1 Ed = 0 P TR Q 1 < Ed < 
Ed = 1 Ed = 0 Ed =  1 < Ed <  0 < Ed < 1 TR

44 ลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อความยืดหยุ่น ของอุปสงค์ต่อราคา

45 Ed สินค้า 1 > Ed สินค้า 2
ถ้าราคาสินค้า 1 และ 2 มีการเปลี่ยนแปลงใน สัดส่วนที่เท่ากันแล้ว สินค้าชนิดที่ 1 จะมีสัดส่วน การเปลี่ยนแปลงของ Q มากกว่าสินค้าชนิดที่ 2 P Q1 Q2

46 Ed ของ ก > Ed ของ ข

47 ลักษณะของสินค้าที่มีผลต่อความยืดหยุ่น ของอุปสงค์ต่อราคา
1. สินค้าที่จำเป็นและสินค้าที่ฟุ่มเฟือย Ed จำเป็น Ed ฟุ่มเฟือย < P Qจำเป็น Qฟุ่มเฟือย

48 > Edราคาสูงเทียบกับรายได้ Edราคาต่ำเทียบกับรายได้
2. สินค้านั้นมีเปอร์เซ็นต์ของรายได้ที่ผู้บริโภค ใช้จ่ายมากหรือน้อย Edราคาสูงเทียบกับรายได้ Edราคาต่ำเทียบกับรายได้ > ดินสอ ราคา 5 บาท ราคาเพิ่มขึ้นเป็น 10 บาท ราคาเพิ่มขึ้น 100% รถยนต์ 300,000 บาท เพิ่มขึ้นเป็น 600,000 บาท Q%น้อย Q%มาก

49 < Ed เสียหายง่าย Ed คงทนถาวร P
3. สินค้าเสียหายง่ายและสินค้าคงทนถาวร Ed เสียหายง่าย Ed คงทนถาวร < P Qคงทน Qเสียหายง่าย ซ่อมแซมของเดิม

50 > Ed ทดแทนง่าย Ed ทดแทนยาก P
4. สินค้านั้นหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ง่ายหรือยาก P Qทดแทนง่าย Qทดแทนยาก หันไปซื้อสินค้า ทดแทน

51 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand : EY)
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ EY = % Q % Y

52 วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)

53 การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Q1 - Q2 Q1 Y1 - Y2 Y1 x EY = Y1 : รายได้เดิม Q1 : ปริมาณเดิม Y2 : รายได้ใหม่ Q2 : ปริมาณใหม่

54 การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
Q1 - Q2 Q1 + Q2 Y1 - Y2 Y1 + Y2 x EY =

55 ถ้าเดิมผู้บริโภคมีรายได้เดือนละ 6,000 บาท ต่อมา ผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นเป็น 7,000 บาท ทำให้บัตร เข้าชมดนตรีขายได้เพิ่มขึ้นจาก 600 บัตร เป็น 680 บัตร ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ เท่ากับเท่าใด 2. ถ้าเดิมผู้บริโภคมีรายได้เดือนละ 7,000 บาท ปริมาณการซื้อสินค้าชนิดหนึ่งคือ 5 หน่วย /เดือน ต่อมา รายได้ของผู้บริโภครายนี้ลดลงเหลือ 5,000 บาท ทำให้ ปริมาณการซื้อสินค้าชนิดนี้เพิ่มขึ้นเป็น 15 หน่วย/เดือน ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้เท่ากับเท่าใด

56 Y1 : 6,000 บาท Q1 : 600 บัตร Y2 : 7,000 บาท Q2 : 680 บัตร 1. Q1 - Q2 Q1 Y1 - Y2 Y1 x EY = 600 6, ,000 6,000 - 80 - 1,000 = 0.8

57 บัตรชมดนตรีเป็น “สินค้าปกติ”
EY = 0.8 ถ้ารายได้เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป 0.8% ในทิศทางเดียวกัน ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น 0.8% ถ้ารายได้ลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 0.8% บัตรชมดนตรีเป็น “สินค้าปกติ”

58 Q1 - Q2 Q1 Y1 - Y2 Y1 x EY = 5 7, ,000 7,000 - 10 2,000 = - 7 Y1 : 7,000 บาท Q1 : 5 หน่วย Y2 : 5,000 บาท Q2 : 15 หน่วย 2.

59 สินค้าชนิดนี้เป็น “สินค้าด้อยคุณภาพ”
EY = - 7 ถ้ารายได้เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงไป 7% ในทิศทางตรงกันข้าม ถ้ารายได้เพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อลดลง 7% ถ้ารายได้ลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเพิ่มขึ้น 7% สินค้าชนิดนี้เป็น “สินค้าด้อยคุณภาพ”

60 EY บวก : “สินค้าปกติ” (Normal Goods) ลบ : “สินค้าด้อยคุณภาพ” (Inferior Goods) สรุป

61 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross - Price Elasticity of Demand : EC) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง Ec = % QX % Py

62 การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Py1 : ราคา y เดิม Qx1 : ปริมาณ x เดิม Py2 : ราคา y ใหม่ Qx2 : ปริมาณ x ใหม่ Qx1 - Qx2 Qx1 Py1 - Py2 Py1 x EC =

63 การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
Qx1 - Qx2 Py1 - Py2 x EC = Py1 + Py2 Qx1 + Qx2

64 สมมติว่าโค้กเพิ่มราคาขึ้น 10% ซึ่งทำให้เป็ปซี่สามารถขายได้เพิ่มขึ้น 5% ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์สำหรับเป็ปซี่ต่อราคาโค้ก มีค่าเท่ากับเท่าใด และโค้กกับเป็ปซี่มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ถ้าเดิมกาแฟราคา 100 บาท จะทำให้มีปริมาณซื้อน้ำตาล 60 กิโลกรัม/เดือน ต่อมาราคากาแฟลดลงเหลือ 70 บาท พบว่าปริมาณการซื้อน้ำตาลจะเพิ่มขึ้นเป็น 80 กิโลกรัม/เดือน กาแฟกับน้ำตาลมีความสัมพันธ์กันอย่างไร และค่าความยืดหยุ่นไขว้ของน้ำตาลคือเท่าใด

65 1. EC = = 0.5 P โค้กเพิ่มขึ้น 10% Q เป็ปซี่เพิ่มขึ้น 5% = 5 10 % QX
= 0.5 % QX % Py 1. P โค้กเพิ่มขึ้น 10% Q เป็ปซี่เพิ่มขึ้น 5% % Q เป็ปซี่ % P โค้ก =

66 โค้กและเป็ปซี่เป็น “สินค้าทดแทนกัน”
EC = 0.5 ถ้าราคาโค้กเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณเป็ปซี่เปลี่ยนแปลงไป 0.5% ในทิศทางเดียวกัน ถ้าราคาโค้กเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเป็ปซี่ เพิ่มขึ้น 0.5% โค้กและเป็ปซี่เป็น “สินค้าทดแทนกัน” ถ้าราคาโค้กลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อเป็ปซี่ ลดลง 0.5%

67 2. EC = - 20 = - 1.11 60 - 80 60 100 - 70 100 x 30 Qน้ำตาล1 - Qน้ำตาล2
60 100 x EC = - 20 30 = Pกาแฟ1 : 100 บาท Qน้ำตาล1 : 60 กก. Pกาแฟ2 : 70 บาท Qน้ำตาล2 : 80 กก. 2. Qน้ำตาล1 - Qน้ำตาล2 Qน้ำตาล1 Pกาแฟ1 - Pกาแฟ2 Pกาแฟ1

68 กาแฟและน้ำตาลเป็น “สินค้าประกอบกัน”
EC = ถ้าราคากาแฟเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณซื้อน้ำตาลเปลี่ยนแปลงไป % ในทิศทางตรงกันข้าม ถ้าราคากาแฟเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณซื้อน้ำตาล ลดลง 1.11% กาแฟและน้ำตาลเป็น “สินค้าประกอบกัน” ถ้าราคากาแฟลดลง 1% จะทำให้ปริมาณซื้อน้ำตาล เพิ่มขึ้น 1.11%

69 EC บวก : “สินค้าทดแทนกัน” (Substitution Goods) ลบ : “สินค้าประกอบกัน” (Complementary Goods) สรุป

70 ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply : Es)
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply) : เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น Es = % Q % P

71 วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Es = การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x Es =

72 สมมติว่าเดิมราคาของข้าวถังละ 1,200 บาท ปริมาณขายเท่ากับ 150 ถัง ถ้าราคาข้าวเหลือถังละ 1,000 บาท ปริมาณขายเท่ากับ 120 ถัง ค่าความยืดหยุ่นของอุปทานเท่ากับเท่าใด P1 : 1,200 บาท Q1 : 150 บัตร P2 : 1,000 บาท Q2 : 120 บัตร

73 Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Es = 150 1, ,000 1,200 = 30 200 1.2

74 Es = ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% จะทำให้ปริมาณขายเปลี่ยนแปลงไป 1.2% ในทิศทางเดียวกัน ถ้าราคาเพิ่มขึ้น 1% จะทำให้ปริมาณขายเพิ่มขึ้น 1.2% ถ้าราคาลดลง 1% จะทำให้ปริมาณขายลดลง 1.2%

75 ค่าความยืดหยุ่นและลักษณะของเส้นอุปทาน
1. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Supply ; Es = 0) P Q % Q = 0 S 100

76 2. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Supply ; 0 < Es < 1)
% Q < % P P Q 4 5 100 110 S 25% 10%

77 3. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Supply ; Es = 1)
% Q = % P P Q 4 5 100 125 S 25%

78 4. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Supply ; 1 < Es < )
% Q > % P P Q 4 5 100 160 S 25% 60%

79 5. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Supply ; Es = )
Q 4 S

80 Price Elasticity of Supply

81 ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
ประเภทของสินค้า ระยะเวลาในการผลิต ความยากง่ายในการผลิตสินค้า ต้นทุนในการผลิต

82 1. ประเภทของสินค้า Es อุตสาหกรรม Es เกษตร > P Qอุตสาหกรรม Qเกษตร

83 2. ระยะเวลาในการผลิต Es ระยะเวลานาน Es ระยะเวลาสั้น < P Qนาน Qสั้น

84 3. ความยากง่ายในการผลิตสินค้า
Es ยาก Es ง่าย < P Qยาก Qง่าย

85 4. ต้นทุนในการผลิต Es ต้นทุนสูง Es ต้นทุนต่ำ < P Qสูง Qต่ำ


ดาวน์โหลด ppt ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google