ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYongchaiyuth Ekaluck ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
2
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
3
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross Price Elasticity of Demand)
4
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) เป็นการวัดการเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง โดยวัดออกมาในรูปของร้อยละ Ed = % Q % P
5
วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
6
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Q P1 P2 Q1 Q2 A B P1 : ราคาเดิม P2 : ราคาใหม่ Q1 : ปริมาณเดิม Q2 : ปริมาณใหม่ ความยืดหยุ่น ณ จุด A เท่ากับ ? Q เปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เมื่อ P เพิ่มขึ้น
7
สูตรความยืดหยุ่นของอุปงค์แบบจุด (Point elasticity of Demand)
Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Q2 - Q1 P2 - P1
8
ตัวอย่าง สินค้าราคา 20 บาท มีคนซื้อ 10 ชิ้น แต่ราคาลดลงเป็น 18 บาท คนจะซื้อเพิ่มเป็น 15 ชิ้น ค่าความยืดหยุ่นที่ A คือ
9
Q2 - Q1 Q1 P2 - P1 P1 x Ed = 10 20 = 5 2
10
P A 20 B 18 D Q 10 15
11
ค่าความยืดหยุ่นที่ A = -5 หมายถึงว่า ถ้าราคาเปลี่ยนไป 1% ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนไป 5% ส่วนเครื่องหมายเป็นลบเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณความต้องการซื้อมีทิศทางตรงกันข้าม ค่าความยืดหยุ่นจะพิจารณาเฉพาะตัวเลขเท่านั้น
12
สำหรับค่าความหยือหยุ่นที่จุด B คือ
Q1 - Q2 Q2 P1 - P2 P2 x Ed = 15 18 = 5 2 3
13
P Q 18 20 15 10 B A Ed = - 3 Ed = - 5
14
จะเห็นว่าค่าความยืดหยุ่นที่จุด A = -5 ที่ B = -3 ได้ค่าไม่เท่ากันทั้งๆที่การเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อ และราคาที่มีค่าเท่ากัน เพียงแต่การใช้ราคาปริมาณเริ่มแรกที่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาว่าจะใช้ค่าใดเป็นเริ่มแรก การคำนวณค่าความยืดหยุ่นจึงมีอีกสูตรหนึ่ง คือ
15
ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์บนช่วงใดช่วงหนึ่งบนเส้นอุปสงค์ (Arc elasticity of demand) คือ ช่วง AB
Ed = % Q % P Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x
16
Ed = = P1 : 20 บาท Q1 : 10 ชิ้น P2 : 18 บาท Q2 : 15 ชิ้น 10 - 15
x = 5 25 2 38 3.8 Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 Ed =
17
ซึ่งค่า -3.8 นี้ไม่ว่าจะใช้ราคาและปริมาณใดเป็นตัวเริ่มต้นก็ตามจะได้ค่าเท่ากับ -3.8 เสมอ
P Q 18 20 15 10 B A Ed =
18
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าและความสัมพันธ์กับรายรับของผู้ขาย
Ed = % Q % P ถ้า % Q > % P Ed > 1 ถ้า % Q < % P Ed < 1 ถ้า % Q = % P Ed = 1 ถ้า % Q = Ed = 0 ถ้า % P = Ed =
19
Price Elasticity of Demand
20
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์
ความยืดหยุ่นมาก (Elastic) ความยืดหยุ่นน้อย(Inelastic) - สินค้าที่มีของทดแทนได้มาก - สินค้าที่มีของทดแทนได้น้อย - สินค้าฟุ่มเฟือย - สินค้าจำเป็น - สินค้าคงทนถาวร - สินค้าที่มีราคาเพียงเล็กน้อย
21
1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < )
% Q > % P P Q 4 5 100 50 TR x = 1. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Demand ; 1 < Ed < )
22
P Q % Q < % P 4 5 100 90 TR x = 2. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Demand ; 0 < Ed < 1)
23
3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ; Ed = 1)
% Q = % P 4 5 100 80 400 บาท P TR คงที่ Q 3. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Demand ; Ed = 1)
24
D P Q % P = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อ 4 50 100
4. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Demand ; Ed = )
25
P Q % Q = 0 TR มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับราคา 4 D 100 5 5. อุปสงค์ที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Demand ; Ed = 0)
26
สรุป Ed = 1 ความ ยืดหยุ่น ค่าความ ยืดหยุ่น การเปลี่ยนแปลงราคา
ราคาเพิ่ม ราคาลด Elastic 1 < Ed < รายได้รวมลดลง รายได้รวมเพิ่มขึ้น Unitary Elastic Ed = 1 รายได้รวมคงที่ Inelastic 0 < Ed < 1
27
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand : EY)
เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของรายได้ EY = % Q % Y
28
วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand) การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
29
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Q1 - Q2 Q1 Y1 - Y2 Y1 x EY = Y1 : รายได้เดิม Q1 : ปริมาณเดิม Y2 : รายได้ใหม่ Q2 : ปริมาณใหม่
30
การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
Q1 - Q2 Q1 + Q2 Y1 - Y2 Y1 + Y2 x EY =
31
ถ้าค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้มีเครื่องหมายเป็นบวกแสดงว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) หรือสินค้าฟุ่มเฟือย (Superior Goods) และถ้ามีเครื่องหมายเป็นลบแสดงว่าเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) เพราะเมื่อผู้บริโภคมีรายได้เพิ่มขึ้นจะซื้อสินค้าชนิดนั้นลดลง
32
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องหรือความยืดหยุ่นไขว้ (Cross - Price Elasticity of Demand : EC) เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง Ec = % QX % Py
33
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Demand)
Py1 : ราคา y เดิม Qx1 : ปริมาณ x เดิม Py2 : ราคา y ใหม่ Qx2 : ปริมาณ x ใหม่ Qx1 - Qx2 Qx1 Py1 - Py2 Py1 x EC =
34
การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Demand)
Qx1 - Qx2 Py1 - Py2 x EC = Py1 + Py2 Qx1 + Qx2
35
สินค้าที่เกี่ยวข้องกันแบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้
สินค้าที่ใช้ประกอบกัน (Complementary Goods) เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภคต้องใช้ร่วมกัน ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะไม่สามารถบริโภคได้ เช่น รถยนต์และน้ำมัน เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ต้องใช้ประกอบกันจะมีทิศทางตรงกันข้ามหรือเป็น - สินค้าทดแทนกัน (Substitute Goods) เป็นสินค้าที่ในการอุปโภคบริโภค ถ้าหาสินค้าชนิดหนึ่งไม่ได้สามารถใช้สินค้าอีกชนิดหนึ่งทดแทนได้ เช่น เนื้อหมูกับเนื้อไก่ เป็นต้น ความสัมพันธ์ของสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้จะมีทิศทางเดียวกันหรือเป็น +
36
ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply : Es)
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply) : เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายต่อ เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้านั้น Es = % Q % P
37
วิธีการวัดค่าความยืดหยุ่น
การวัดความยืดหยุ่นแบบจุด (Point Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 P1 - P2 P1 x Es = การวัดค่าความยืดหยุ่นแบบช่วง (Arc Elasticity of Supply) Q1 - Q2 Q1 + Q2 P1 - P2 P1 + P2 x Es =
38
ค่าความยืดหยุ่นและลักษณะของเส้นอุปทาน
1. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Perfectly Inelastic Supply ; Es = 0) P Q % Q = 0 S 100
39
2. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic Supply ; 0 < Es < 1)
% Q < % P P Q 4 5 100 110 S 25% 10%
40
3. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นคงที่ (Unitary Elastic Supply ; Es = 1)
% Q = % P P Q 4 5 100 125 S 25%
41
4. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมาก (Elastic Supply ; 1 < Es < )
% Q > % P P Q 4 5 100 160 S 25% 60%
42
5. อุปทานที่มีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic Supply ; Es = )
Q 4 S
43
Price Elasticity of Supply
44
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
ความยากง่ายและเวลาที่ใช้ในการผลิต สินค้าที่สามารถผลิตได้ง่ายและใช้เวลาในการผลิตสั้นอุปทานของสินค้ามีค่าความยืดหยุ่นสูง ปริมาณสินค้าคงคลัง สินค้าที่มีสินค้าคงคลังสำรองมาก อุปทานของสินค้าจะมีความยืดหยุ่นสูง
45
ปัจจัยที่กำหนดค่าความยืดหยุ่นของอุปทาน
ความหายากของปัจจัยการผลิต ถ้าปัจจัยที่ใช้ในการผลิตสินค้ามีจำนวนจำกัดและหายาก ต้องใช้เวลาในการหาปัจจัยการผลิตนาน อุปทานของสินค้าชนิดนั้นจะมีความยืดหยุ่นต่ำ ระยะเวลา ถ้าระยะเวลานานความยืดหยุ่นของอุปทานจะมากเพราะผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนแปลงการใช้ปัจจัยการผลิตได้ทุกชนิด แม้แต่เทคโนโลยีและเครื่องมือเครื่องจักรต่างๆ
46
ประโยชน์ของค่าความหยืดหยุ่นของอุปสงค์
ในการวางนโยบายหรือมาตรการของรัฐ เช่น การจัดเก็บภาษีจากสินค้า รัฐจะต้องรู้ว่าสินค้านั้นมีความหยืดหยุ่นเท่าไร เพื่อจะได้ทราบว่าภาระภาษีจะตกไปบุคคลกลุ่มใด ช่วยให้หน่วยุรกิจสามารถดำเนินกลยุทธทางด้านราคาได้อย่างถูกต้องว่าสินค้าชนิดใดควรตั้งราคาสินค้าไว้สูงหรือต่ำเพียงใด ควรเพิ่มหรือลดราคาสินค้า จึงจะทำให้รายได้รวมกำไรของธุรกิจจะเพิ่มขึ้น นำมาใช้ประกอบการพยากรณ์แนวโน้มกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.