ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การคิดและการตัดสินใจ
บทที่ 6 ตอนที่ 2 รศ.ชะเอม สายทอง ผู้นำเสนอ
2
การวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์ 3 แบบ
1. การใช้ตาราง 2. การแผนภาพต้นไม้ 3. การตีความผิดพลาด ในที่นี้จะสอนเฉพาะแบบ 1 และ 2 เท่านั้น แบบที่ 3 ให้นักศึกษาที่เรียนตรรกศาสตร์ที่สูงขึ้นได้เรียน
3
การวิเคราะห์ค่าความจริง ของประพจน์เชิงซ้อนโดยใช้ตาราง
ใช้หาค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อนได้ทุกกรณีที่เป็นไปได้ หลักการ ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน เป็นไปได้ 2 x 2 = 4 กรณี ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย 3 ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน 2 x 2 x 2 = 8 กรณี ...
4
หลักการทั่วไป แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F
ถ้าประพจน์เชิงซ้อน ประกอบด้วยประพจน์ย่อย n ประพจน์ แต่ละประพจน์มีค่าความจริงเป็นไปได้ 2 แบบ คือ T และ F ดังนั้น ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน เป็นไปได้ 2 x 2 x 2 x … x 2 ( n ครั้ง ) = 2 n กรณี
5
ค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน ซึ่งประกอบด้วยประพจน์ย่อย 3 ประพจน์
F T r q p
6
แบบของตารางการวิเคราะห์ค่าความจริง
แบบที่ 1 ตารางเต็มรูป แบบที่ 2 ตารางลดรูป
7
ตัวอย่าง 6.13 จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ โดยสร้างตาราง
8
วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)
9
วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)
10
วิธีทำ (แบบตารางเต็มรูป)
11
วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)
12
วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)
13
วิธีทำ (แบบตารางลดรูป)
14
ตัวอย่าง 6.14 จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้
15
สัจนิรันดร์ ( Tautology ) คือประพจน์ ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ
คนทุคนต้องตาย 2 + 2 = 4 งูเป็นสัตว์เลื้อยคลาน โลกกลม 1 > 0 หรือ 1 < 0 2 > 10 โลกแบน 4 เป็นเลขคู่ และ 4 เป็นเลขคี่ เชียงใหม่อยู่ทางใต้ของประเทศไทย 1 > 0 และ 1 < 0
16
ตัวอย่าง 6.15 ประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
ตัวอย่าง 6.15 ประพจน์ต่อไปนี้ เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
17
วิธีทำ 1)
18
วิธีทำ 1)
19
วิธีทำ 1)
20
วิธีทำ 1)
21
วิธีทำ 1)
22
วิธีทำ 1)
23
วิธีทำ 1)
24
การวิเคราะห์ค่าความจริงโดยใช้แผนภาพต้นไม้
หลักการ 1. ใช้ในกรณีที่ทราบค่าความจริงของประพจน์เดี่ยว ๆ แล้ว 2. ถ้าไม่ทราบค่าความจริงของประพจน์ จะต้องแสดงแผนภาพต้นไม้ ต้นละ 1 กรณี
25
การวิเคราะห์ค่าความจริงโดยใช้แผนภาพต้นไม้
หลักการ 1. ใช้ในกรณีที่ทราบค่าความจริงของประพจน์เดี่ยว ๆ แล้ว 2. ถ้าไม่ทราบค่าความจริงของประพจน์ จะต้องแสดงแผนภาพต้นไม้ ต้นละ 1 กรณี
26
ตัวอย่าง 6.16 จงหาค่าความจริงของประพจน์
ตัวอย่าง จงหาค่าความจริงของประพจน์
27
วิธีทำ
28
วิธีทำ
29
วิธีทำ
30
วิธีทำ
31
สรุป
32
ตัวอย่าง 6.17 จงหาค่าความจริงของประพจน์
33
วิธีทำ
34
วิธีทำ
35
วิธีทำ
36
วิธีทำ
37
ค่าความจริงของประพจน์ตามโจทย์ มีค่าความจริงเป็นจริง
ผลสรุป ค่าความจริงของประพจน์ตามโจทย์ มีค่าความจริงเป็นจริง
38
ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120
39
ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120
40
ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120
41
ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120
42
ตัวอย่าง ข้อ 3 (4) หน้า 120
43
กิจกรรม 1. แบบฝึกหัด 6.1 หน้า 106 ให้ตรวจว่าข้อความ 1 - 18
1. แบบฝึกหัด 6.1 หน้า 106 ให้ตรวจว่าข้อความ เป็นประพจน์ กี่ข้อ (ตอบ…..ข้อ) 2. จงหาค่าความจริงของประพจน์ ข้อ 3 3 ) หน้า 120 3. จงสร้างตารางหาค่าความจริงของประพจน์ ข้อ 4 1)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.