งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
accident ACCIDENT

2 ท่านทราบหรือไม่ว่า..... ความเสี่ยงคืออะไร ความเสี่ยงที่รุนแรงคืออะไร
เมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น หน่วยงาน หรือ PCT ทำอย่างไรกับความเสี่ยง ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร หน่วยงาน หรือ PCT ท่านมีความเสี่ยงสำคัญอะไร ขณะนี้แนวโน้มของความเสี่ยงต่างๆในหน่วยงาน หรือ PCT เป็นอย่างไร หน่วยงาน หรือ PCTมีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกอย่างไร

3 1. ความเสี่ยงคืออะไร ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ ทั้งหมด
1. ผลแทรกซ้อนจากการดูแลรักษา/การปฏิบัติงาน ที่ไม่ได้คาดการณ์ ( unexpected, Adverse effect) 2. อุบัติการณ์ อุบัติเหตุ ที่เกิดขึ้นในที่ทำงาน ( Incident) 3. ความเสียหาย ที่ไม่ได้คาดการณ์เอาไว้ (unplanned) 4. ข้อร้องเรียน มีเรื่องมีราว >>> โดนฟ้อง

4 2. ความเสี่ยงที่รุนแรงคืออะไร
สำหรับ Back office 1. ระดับไม่รุนแรง คือที่ไม่ส่งผลเสียหายต่อลูกค้า และองค์กร 2. ระดับรุนแรง คือส่งผลให้ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น สำหรับ Clinic และ Paraclinic มี 9 ระดับ 1. ไม่รุนแรง A-D 2. รุนแรง E+

5 3. เมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น จะทำอย่างไร หน่วยงาน หรือ PCT ทำอย่างไรกับความเสี่ยง
รายงานผู้บังคับบัญชาตามสายงาน ตามระดับ เขียนรายงานอุบัติการณ์ หากเป็นเรื่อง หรือมีแนวโน้มเรื่องใหญ่ รายงานผู้อำนวยการทันที ระดับรุนแรงต้องมีการทบทวน RCA ระดับรุนแรงควรมีการทบทวนในPCT หรือระดับที่ประชุมงาน มีการ monitor ในข้อ 5

6 4. ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร
4. ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร Saundok’s safety goal 2007 ระวังผิดตัว >>>สำหรับ back office การระบุตัวผู้รับบริการ น่ากลัวเรื่องยา ดูแลล่าช้า >>> สำหรับ back office เน้นความรวดเร็วในการให้บริการ ปัญหาเลือดผิด Sepsisต้องทบทวน ( 6+7 Falling/communication)

7 5. หน่วยงาน หรือ PCT ท่านมีความเสี่ยงสำคัญอะไร
5.1 Monitor อุบัติการณ์ ของหน่วยงาน และ Patient safety indicator 5.2 Monitor Saundok safety goal 5.3 Monitor Clinical risk 5.4 AE (จากการทบทวนของกรรมการ adverse event)

8 6. ขณะนี้แนวโน้มของความเสี่ยงต่างๆในหน่วยงาน หรือ PCT เป็นอย่างไร
สืบเนื่องมาจากการmonitor ในข้อ 5-6 เราก็จะทราบแนวโน้ม ควรทราบว่าได้ทำอะไรไปเพื่อลดปัญหา หรือ จะทำอะไรต่อ กับความเคลื่อนไหวของตัวเลขเหล่านั้น

9 7. หน่วยงาน หรือ PCTมีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกอย่างไร
C3THER เฉพาะราย การทบทวนเวชระเบียน การ round หน่วยงานประจำวัน การทำ team round/ หน่วยงาน ในช่วงเวลาที่กำหนด

10 Re-accreditation 16-18 มกราคม 2551
ขอให้ทุกคนโชคดี


ดาวน์โหลด ppt การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google