ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNopjira Kongkatitum ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
รศ. ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 26 ตุลาคม 2548
2
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคคลในวัยต่าง ๆ และในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ (ห้องสมุดเป็นหนึ่งในสภาพแวดล้อมสำคัญของการเรียนรู้นี้) การเรียนรู้เริ่มต้นจากการได้รับทักษะและความรู้ (การแสวงหาสารสนเทศ) และทบทวนรวมทั้งปรับเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสนองความเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการเมือง
3
บทบาทของห้องสมุด ทรัพยากร สารสนเทศ ผู้ใช้ ห้องสมุด จัดหา หรือบอกรับ
ทรัพยากร สารสนเทศ จัดหา หรือบอกรับ เผยแพร่โดยไม่คิดมูลค่า ผู้ใช้ สมาชิกหรือทั่วไป เข้าใช้จากภายในและภายนอก ห้องสมุด
4
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษาหรือผู้เรียนต่าง ๆ ประชาชนทั่วไป walk-ins, via Internet ผลการวิจัยจำนวนมากพบว่า ผู้ใช้นิยมใช้สารสนเทศในอินเทอร์เน็ตมากขึ้นตามลำดับ เพราะความสะดวกต่าง ๆ
5
ปัจจัยสำคัญ สังคมแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือต้นทุนทางมนุษย์ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ การเผยแพร่ทรัพยากรฯ ในอินเทอร์เน็ต นักศึกษาในหลักสูตรต่าง ๆ (จำนวน, การกระจาย ฯลฯ)
6
บทบาทสำคัญของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
การจัดบริการห้องสมุดกับผู้เรียนรู้ในฐานะบริการพื้นฐานของห้องสมุด (ดั้งเดิมและอื่น ๆ ) การบูรณาการบริการห้องสมุดกับการเรียนรู้ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่สนองความต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป (ด้านการศึกษา หัวข้อที่สนใจและการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ) และความต้องการของประเทศและสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือสำคัญ การขยายความสามารถในการเข้าถึงสำหรับผู้เรียน
7
สภาพการเรียนรู้กับห้องสมุด
นักศึกษา (วัย ทักษะ ความรู้ความถนัด และความสนใจ) ผู้สอน คณาจารย์ สารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้ (ห้องสมุด)
8
สารสนเทศกับห้องสมุดฯ
เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (กระดาษ อิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ) เนื้อหาอะไรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเหมาะสมกับผู้เรียน? ความสำคัญของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ความสำคัญของสารสนเทศภาษาไทย ตัวแบบของการให้บริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์และภาษาไทยที่เอื้อต่อการเรียนรู้และเหมาะกับผู้เรียน ?
9
สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (2)
คุณภาพของสารสนเทศ (โดยเฉพาะสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ .. ผู้เรียนชอบใช้ ปริมาณมากและคุณภาพหลากหลาย) การพัฒนา Portal เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต การร่วมกับองค์การหรือสถาบันอื่น ๆ ในการสร้างเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ของประเทศหรือสังคม เช่น พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ห้องสมุดในท้องถิ่น ฯลฯ)
10
สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (3)
การพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ (information skills) หรือการรู้สารสนเทศ (information literacy) ห้องสมุดเป็นหน่วยงานสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนาเรื่องนี้ให้กับผู้ใช้ เช่น การสอนร่วมกับวิชา การสอนแยกเป็นวิชาเฉพาะ การปฐมนิเทศ การจัดทำสื่อเผยแพร่ การสอนหรือสาธิตเฉพาะตัว เฉพาะกลุ่ม ฯลฯ
11
สารสนเทศกับห้องสมุดฯ (4)
การปรับปรุงรูปแบบการให้บริการ เช่น ทางอิเล็กทรอนิกส์ การทำ pathfinders การจัดทำ help desks หรือ call centers ที่เหมาะสม หรืออื่น ๆ การปรับปรุง protocol การให้บริการที่เหมาะสมกับการให้บริการสำหรับผู้ใช้ที่หลากหลาย วิธีการสื่อสาร วิธีการสอบถาม การสร้าง template หรือแบบฟอร์มในการสอบถามหรือแจ้งความจำนง
12
บทสรุป บทบาทของห้องสมุดกับวงจรการพัฒนา (สถาบัน การศึกษา ประชาชน)
ความรู้อาจเรียนทันกันหมด การศึกษา การเรียนรู้ กับ การเข้าถึงสารสนเทศที่เอื้อและเหมาะสมกับการเรียนรู้ ความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.