ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThaksincha Larpthawornkiet ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน
แบบมีส่วนร่วม วันที่ 12 มีนาคม 2550 ณ ศาลาประชาคมจังหวัดลำพูน
2
ลำพูนเมืองโบราณ
3
กรอบแนวทางการพัฒนาจังหวัดลำพูน
ผลประโยชน์ของชาวลำพูน เป้าหมาย ผลประโยชน์ของชาติ ลำพูนเป็นเมืองน่าอยู่ ชาวลำพูนมีความสุข ผู้มาเยือนประทับใจ ความมั่นคง ประโยชน์สุขของประชาชน ความอยู่เย็นเป็นสุขอย่างยั่งยืน นโยบายรัฐบาล วาระแห่งชาติ วาระแห่งชาติ ภาคราชการ รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ภาคเอกชน คณะกรรมการสนับสนุนการบริหาร งานจังหวัดแบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองท้องถิ่น คณะกรรมการยุทธศาตร์กลุ่มจังหวัด ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์จังหวัดลำพูน คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ(กบจ.) พันธมิตร/ภาคีการพัฒนา โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดลำพูน กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านความมั่นคง Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
4
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
คือ การบริหารราชการที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงาน ของรัฐ ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและดำเนินงานของรัฐ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อที่ จะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน
5
การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม (การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม)
ฐานที่มาของความคิดตามกรอบกฎหมาย - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช มาตรา 56, 57,58, 59, 60, 62, 66,67, 74, และ 78 เป็นต้น - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 (การมีส่วนร่วม และโปร่งใส) - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8 (3)(4) (5) มาตรา 39, 43, และ 44 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 7
6
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ.2546-2549)
วิสัยทัศน์ “ พัฒนาระบบราชการไทย ให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และ ประโยชน์สุขของประชาชน “
8
คณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน
ประกอบด้วย 1.รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน (นายเฉลิมชัย วรวุฒิพุทธพงศ์) ประธาน 2.หัวหน้าสำนักงานจังหวัดลำพูน กรรมการและเลขานุการ
9
คณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน
มีหน้าที่ 1.อำนวยการและประสานงาน 2.กำกับและติดตาม รวมทั้งให้คำปรึกษาแนะนำ 3.ประเมินผลและประชาสัมพันธ์ 4.สรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน รวมทั้งเผยแพร่สู่หน่วยงานต่าง ๆ และผู้สนใจ
10
คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board)
ประกอบด้วย 1. ร.ศ.สมโชติ อ๋องสกุล 2. ทพ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล 3. ผศ.เมธิสา พงษ์รักเกียรติ
11
คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board)
มีหน้าที่ 1. ให้คำปรึกษาและสนับสนุนทางวิชาการ 2. จัดทำรายงานความก้าวหน้าและประเมินผล สำเร็จ 3. สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะ แนวทางการ พัฒนาและสร้างกระบวนการบริหารระบบเปิด ต่อไป
12
คณะกรรมการจัดทำฐานข้อมูลทางวัฒนธรรม
ประกอบด้วย 1.โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดลำพูน ประธาน 2.หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย กรรมการและเลขานุการ
13
คณะกรรมการจัดทำฐานข้อมูลทางวัฒนธรรม
มีหน้าที่ 1.สำรวจ ศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมและกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนที่พึงจะเป็น 2.เผยแพร่ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม 3.นำเสนอข้อมูลทางวัฒนธรรมและความรู้ต่อ ที่ประชุมระดมความคิดเห็น 4.จัดทำรายงานวิชาการและนำเสนอผลต่อคณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน
14
คณะกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระดมความคิดเห็น ประกอบด้วย 1. โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดลำพูน ประธาน 2. หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย กรรมการและเลขานุการ
15
คณะกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระดมความคิดเห็น มีหน้าที่ 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการระดมความคิดเห็น 2. รวบรวมความคิดเห็นจัดทำสรุปรายงานผล 3. สำรวจความพึงพอใจในการมีส่วนร่วม 4. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ 5. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอคณะ กรรมการอำนวยการและประสานงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.