นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
โดย นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข 28 ธันวาคม 2555

2 การขับเคลื่อนตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การขับเคลื่อนตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน มีความรู้ ตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน วิสาหกิจ ชุมชน รพ. สต. อปท. ภาค ประชาชน (อสม. บวร.) มีสุขภาพดี มีรายได้

3 แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHSA : District Health System Appreciation) เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทึ้งกัน การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท สุขภาพและ คุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีการพัฒนา ที่ยั่งยืน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) แก้ไขปัญหาความยากจน (Poverty Eradication) ภาครัฐ มหาดไทย พลังงาน เกษตร ศึกษาธิการ พัฒนาสังคมฯ สาธารณสุข เอกชน หน่วยงาน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตำบลจัดการ สุขภาพดี วินิจฉัย/รักษา Tele Medicine [Web Camera] Family Folder Home Health Care Home ward Health Screening Curative Referral System การแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ โรคไร้เชื้อเรื้อรัง /โรคติดต่อทั่วไป กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ/พฤติกรรมสุขภาพ สร้างรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจน แผนสุขภาพ ตำบล รพ. สต. วิสาหกิจชุมชน กองทุนในพื้นที่ (กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนสัจจะ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ) กองทุน CSR กองทุนมูลนิธิ ภาคประชาชน (อสม. บวร.) * กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ภาคีเครือข่ายต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน : SRM PLA AIC การพัฒนาศักยภาพ อสม. การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน * รร.วัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. อปท. กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ - กระบวนการมีส่วนร่วม - สอดคล้องกับท้องถิ่น หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน จัดทำแผนสนับสนุนแผน สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น สะท้อนข้อมูล ร่วมในกระบวนการทำแผน ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ

4 ความหมาย AIC : Appreciation Influence Control คือ เทคนิคกระบวนการวางแผนการมีส่วนร่วม PLA : Participatory Learning Approach คือ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม SRM : Strategic Route Map คือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ CSR : Corporate Social Responsibility คือ ความรับผิดชอบต่อสังคม

5 ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจยั่งยืน
มีตังค์ เชิงกระบวนการ เชิงผลผลิต เชิงผลลัพธ์ มีกลไกความร่วมมือแบบบูรณาการระดับตำบล มีกระบวนการจัดการสุขภาพทั้งด้านการเฝ้าระวัง การส่งเสริม การป้องกัน การสร้างสุขภาพโดยชุมชนและท้องถิ่น มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งดีๆ ในการพัฒนา และต่อยอดความสำเร็จของการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและนวัตกรรมด้านสุขภาพ มีกิจกรรม / โครงการที่ดำเนินการโดยชุมชน / ท้องถิ่น มีประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและมีการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีการสร้างสุขภาพที่ดี มีประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการสุขภาพที่เหมาะสม และมีการดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) 4. มีการสร้างและใช้นวัตกรรมด้าน สุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ เชิงกระบวนการ เชิงผลผลิต เชิงผลลัพธ์ มีวิสาหกิจชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน มีเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ประชาชนมีงานทำ มีรายได้ มีการเชื่อมโยงวิสาหกิจชุมชน ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ คุณภาพชีวิตในชุมชนดีขึ้น ยั่งยืน ผลลัพธ์ที่คาดหวัง นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี (Healthy public Policy) ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) แก้ไขปัญหาความยากจน (Poverty Eradication)


ดาวน์โหลด ppt นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google