งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)
ทิศทางมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

2 ผลการประเมิน การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2

3 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบแรก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
สังกัด ได้มาตรฐาน ไม่ได้มาตรฐาน รวม ดี พอใช้ ปรับปรุง สพฐ. ๑๐,๑๔๗ ๓๒.๘๒% ๒๐,๒๐๗ ๖๕.๓๕% ๕๖๕ ๑.๘๓% ๓๐,๙๑๙ เอกชน ๑,๓๐๕ ๔๗.๗๓% ๑,๓๖๒ ๔๙.๘๒% ๖๗ ๒.๔๕% ๒,๗๓๔ ท้องถิ่น ๖๔๓ ๖๙.๔๔% ๒๗๗ ๒๙.๙๑% ๐.๖๕% ๙๒๖ พุทธศาสนา ๒๘ ๗.๕๑% ๓๒๖ ๘๗.๔๐% ๑๙ ๕.๐๙% ๓๗๓ ตชด. ๑๔ ๘.๔๓% ๑๔๒ ๘๕.๕๔% ๑๐ ๖.๐๒% ๑๖๖ รร.สาธิต ๓๐ ๗๓.๑๗% ๒๔.๓๙% ๒.๔๔% ๔๑ ๑๒,๑๖๗ ๓๔.๖% ๒๒,๙๙๒ ๖๕.๔% ๓๕,๑๕๙

4 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
สังกัด ระดับปฐมวัย ระดับประถม-มัธยม รวม รับรอง ไม่รับรอง สพฐ. ๑๘,๙๒๑ ๘๐.๖๒% ๔,๕๔๘ ๑๙.๓๘% ๒๑,๕๐๑ ๘๑.๑๖% ๔,๙๙๐ ๑๘.๘๔% ๒๖,๕๐๔ เอกชน ๑,๗๗๕ ๘๘.๗๑% ๒๒๖ ๑๑.๒๙% ๑,๓๓๒ ๘๘.๕๖% ๑๗๒ ๑๑.๔๔% ๒,๒๑๔ ท้องถิ่น ๔๑๖ ๙๒.๔๔% ๓๔ ๗.๕๖% ๔๒๙ ๘๙.๑๙% ๕๒ ๑๐.๘๑% ๔๘๖ กทม. ๔๐๘ ๙๔.๘๘% ๒๒ ๕.๑๒% ๔๑๗ ๙๕.๘๖% ๑๘ ๔.๑๔% ๔๓๕ รร.สาธิต ๒๐ ๙๕.๒๔% ๔.๗๖% ๒๘ ๙๖.๕๕% ๓.๔๕% ๓๓ พุทธศาสนา - ๗๗.๗๘% ๒๒.๒๒% ๒๑,๕๔๐ ๘๑.๖๘% ๔,๘๓๑ ๑๘.๓๒% ๒๓,๗๑๔ ๘๑.๙๒% ๕,๒๓๕ ๑๘.๐๘% ๒๙,๖๘๑

5 ผลการประเมิน ระดับอาชีวศึกษา 5

6 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒ ประเภท จำนวนสถานศึกษา รวม รับรอง ไม่รับรอง รอพินิจ วิทยาลัยของรัฐ ๓๖๓ ๘๙.๘๕% ๒๗ ๖.๖๘% ๑๔ ๓.๔๗% ๔๐๔ โรงเรียนเอกชน ๒๒๗ ๖๙.๘๕% ๗๖ ๒๓.๓๘% ๒๒ ๖.๗๗% ๓๒๕ ๕๙๐ ๘๐.๙๓% ๑๐๓ ๑๔.๑๓% ๓๖ ๔.๙๔% ๗๒๙

7 ผลการประเมิน ระดับอุดมศึกษา 7

8 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบแรก (๒๕๔๔-๒๕๔๘)
ประเภท ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย ๒.๐๐ ๓.๐๐ ๔.๐๐ ๕.๐๐ รัฐ (๒๔) ๓.๗๙ ดี เอกชน (๕๔) ๓๕ ๑๑ ๓.๑๑ พอใช้ ราชภัฏ (๔๑) ๑๖ ๒๓ ๓.๕๙ ดี ราชมงคล (๓๘) ๒๖ ๒.๘๙ พอใช้ เฉพาะทาง (๙๓) ๖๓ ๓.๗๐ ดี วิทยาลัยชุมชน (๑๐) ๒.๙๐ พอใช้ รวม (๒๖๐) ๒๑ ๑๑๕ ๑๑๘ ๓.๔๒ พอใช้

9 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสอง (๒๕๔๙-๒๕๕๓) ข้อมูล พ
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษารอบสอง (๒๕๔๙-๒๕๕๓) ข้อมูล พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๒ ประเภท รับรอง รอพินิจ ไม่รับรอง ไม่ตัดสินผล รวม ม.ในกำกับ ๑๓ - ม.รัฐ ๑๔ ๒๘* ม.ราชภัฏ ๓๘ ๔๐ ม.ราชมงคล ม.เอกชน ๕๓ ๖๘ วิทยาลัยชุมชน ๑๕ ๒๐ เฉพาะทาง ๖๓ ๖๔ ๒๐๕ ๑๐ ๒๑ ๒๔๒ * รวมการประเมินสถาบันการพลศึกษารายวิทยาเขต จำนวน ๑๓ วิทยาเขต

10 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
หลักการ T B S วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

11 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
Simple ลดตัวบ่งชี้เท่าที่จำเป็น แต่คงอำนาจจำแนก น้อย ชัดเจน จำง่าย ขึ้นใจ ไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

12 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
Together IQA + EQA QE + QA + QI Collaboration System ONESQA + Institution Partnership วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

13 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
Better Assess to Improve Score Increasing Continuous Development หรือ Improving Quality วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

14 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
is Simply Together Better หรือ Better Together Simplify วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

15 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
นโยบาย - นโยบาย “หมื่นมิตร” - นโยบาย “ห่วงโซ่คุณภาพ” - นโยบาย “เชื่อมโยงประสาน - นโยบาย “วิถีชีวิต วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

16 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
นโยบาย “หมื่นมิตร” สร้างความร่วมมือและมีเป้าหมายร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งมีการเชื่อมโยงสู่การพัฒนาคุณภาพร่วมกัน กลยุทธ์ “Empowerment” เสริมแรงมิตร ส่งพลังสู่การพัฒนา” - โครงการศูนย์ภูมิภาค - โครงการ 1 สถาบัน 1 ผู้ประเมิน - โครงการพัฒนากัลยาณมิตร - โครงการงานสร้างมิตร วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

17 นโยบาย ““ห่วงโซ่คุณภาพ””
นโยบาย ““ห่วงโซ่คุณภาพ”” เชื่อมโยงสัมพันธ์ ต่อยอดสอดรับ ทุกระดับการศึกษา โดยให้มีการช่วยเหลือกันในการพัฒนาคุณภาพ เช่น มหาวิทยาลัยช่วยมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยช่วยสถานศึกษาอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยช่วยสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะการบริการวิชาการ โดยอาจกำหนดในตัวบ่งชี้ด้านการบริการวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัยจะต้องดูแลโรงเรียนกี่แห่ง และจะทำอย่างไรให้เกิดเป็นห่วงโซ่คุณภาพ กลยุทธ์ สานสายใยมาตรฐานคุณภาพ” - โครงการ Partnership - โครงการส่งเสริมนวัตกรรม - โครงการชุดวิจัยคุณภาพ – โครงการตำรา - โครงการช่วยกันพัฒนา วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

18 นโยบาย ““เชื่อมโยงประสาน””
นโยบาย ““เชื่อมโยงประสาน”” การประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นหนึ่ง - IQA-EQA การประเมินคุณภาพภายใน+การประเมินคุณภาพภายนอก QE - QA – QI : Quality Enhancement Quality Assessment Quality Improvement กลยุทธ์ ร่วมคิด ร่วมทำ” - โครงการสารสนเทศ - โครงการสหกิจศึกษา วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

19 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
นโยบาย “วิถีชีวิต” นำคุณภาพสู่ตน สร้างคนคุณภาพ - คุณภาพปัจเจกชน สู่ชุมชนคุณภาพ กลยุทธ์ ปลุกจิตสำนึก สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ” - โครงการเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ - โครงการปรับทัศนคติ - โครงการสื่อส่งเสริมคุณภาพ โครงการคนไทยรักกัน - โครงการรวมใจช่วยไทยพัฒนา (ช่วยด้วยใจ) วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

20 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
นโยบาย: BETTER การพัฒนาที่ไม่หยุดนิ่ง B Breaking Barrier E Enhancing Quality T Thainess Promotion T Teaching & Learning E Education Systems R Re-creation วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

21 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
มาตรการ” มาตรการเทียบเคียง มาตรการห่วงโซ่คุณภาพ มาตรการพึ่งพาตนเอง มาตรการปรับทัศนคติ วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

22 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
เปรียบเทียบมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบ ๑-๒-๓ ระดับการศึกษา รอบ ๑ รอบ ๒ รอบ ๓ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน ๑๔ ๕๓ ๖๐ ๑๑ อาชีวะ ๓๐ ๒๕ ๑๘ อุดมศึกษา ๒๘ ๔๘ (ตบช.ร่วม ๓๙) (ตบช.เฉพาะ ๙) วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

23 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน ด้านผลผลิต ๑. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ๔. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น และปรับตัวเข้ากับสังคมได้ ด้านผลลัพธ์ ๕. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และผู้เรียนมีการศึกษา ต่อหรือประกอบอาชีพตามศักยภาพของผู้เรียนและบริบท ของสถานศึกษา

24 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน ด้านการจัดการเรียนการสอน ๖. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ด้านบริหารจัดการศึกษา ๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา ด้านการประกันคุณภาพภายใน ๘. การประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด เป็นไปตามกฎกระทรวง

25 ตัวบ่งชี้ มาตรการส่งเสริม
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔- ๒๕๕๘) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ ๙. การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ ของการจัดตั้ง หรือจุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของประเภท โรงเรียน ตัวบ่งชี้ มาตรการส่งเสริม ๑๐. มาตรการส่งเสริมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และยกระดับมาตรฐานโดยการกำหนด มาตรการร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามข้อตกลงใน การดำเนินงานและการใช้ทรัพยากรกับรัฐบาล เพื่อให้ สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๑๑. มาตรการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตที่ดี มีภูมิคุ้มกัน เพื่อการเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคม สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ยั่งยืน

26 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ด้านการอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน (น้ำหนัก ร้อยละ ๗๐) ผู้สำเร็จการศึกษาได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระใน สาขาที่เกี่ยวข้องภายใน ๑ ปี ๒. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงาน ๓. ผู้เรียนผ่านการทดสอบมาตรฐานทางวิชาชีพจากองค์กร ที่เป็นที่ยอมรับ ๔. ผลงานที่เป็นโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐ์ของ ผู้เรียน ที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ๕. ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของครูทีได้นำไปใช้ ประโยชน์ ๖. ความสำเร็จในการให้บริการวิชาการ/วิชาชีพที่ส่งเสริม การพัฒนาทักษะของผู้เรียน

27 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ด้านการอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน (น้ำหนัก ร้อยละ ๗๐) ๗. ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะจากประสบการณ์จริง ๘. ความสำเร็จในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและ ผู้บริหารสถานศึกษา ๙. ความสำเร็จในการพัฒนาและใช้ระบบฐานข้อมูล สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๑๐. ความสำเร็จในพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๑. ความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง ๑๒. ความสำเร็จในการสร้างการมีส่วนร่วมในการประกัน คุณภาพ ๑๓. การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน

28 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ด้านการอาชีวศึกษา ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ (น้ำหนักร้อยละ ๑๐) ๑๔. ความสำเร็จในการดำเนินงานตามปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและตามจุดเน้นของสถานศึกษา มาตรการส่งเสริม (น้ำหนักร้อยละ ๒๐) ๑๕. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๑๖. การพัฒนาคุณภาพครู ๑๗. การพัฒนาสถานศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ (เลือกจุดเน้นอย่างน้อย ๑ กิจกรรม) ๑๘. การสร้างการมีส่วนร่วมและการขยายโอกาสทาง การศึกษา(เลือกจุดเน้นอย่างน้อย ๑ กิจกรรม)

29 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน (น้ำหนักร้อยละ ๗๕) ด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน ๑ ปี ๒. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอกตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ ๓. ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททีได้รับ การตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ๔. ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทีได้รับ ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ๕. งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ๖. งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ ๗. ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ

30 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน (น้ำหนัก ร้อยละ ๗๕) ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๘. การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย ๙. การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กร ภายนอก ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ๑๐. การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ๑๑. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม

31 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ พื้นฐาน (น้ำหนัก ร้อยละ ๗๕) ด้านการบริหารและพัฒนาสถาบัน ๑๒. การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน ๑๓. การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน ๑๔. การพัฒนาคณาจารย์ ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๑๕. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดย ต้นสังกัด

32 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์(น้ำหนัก ร้อยละ ๑๕) ๑๖. การพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญาและวัตถุประสงค์ของ การจัดตั้งสถาบัน สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี (ข) และสถาบันเฉพาะทางที่ เน้นระดับปริญญาตรี (ค ๒) ๑๖.๑ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑๖.๒ การสืบสานโครงการพระราชดำริ ๑๖.๓ การพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ๑๖.๔ มีหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ

33 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์(น้ำหนัก ร้อยละ ๑๕) สถาบันเฉพาะทางที่เน้นระดับบัณฑิตศึกษา (ค ๑) และสถาบัน ที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะ (ง) ๑๖.๕ ผลงานวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาที่นำไปใช้ประโยชน์ ๑๖.๖ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตร ๑๖.๗ งานวิจัยที่ตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ๑๖.๘ ผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิงระดับนานาชาติ ๑๖.๙ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสถาบันสู่สากล ๑๖.๑๐ มีศูนย์ความเป็นเลิศ ๑๗. การพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นของสถาบัน หมายเหตุ สถาบันเสนอผ่านสภาสถาบันและต้นสังกัด

34 มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ. ศ
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘) ระดับอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ มาตรการส่งเสริม (น้ำหนัก ร้อยละ ๑๐) ๑๘. การชี้นำและ/หรือแก้ปัญหาสังคมในด้านต่างๆ ของสถาบัน อาทิ การส่งเสริมและสืบสานโครงการ มาจากพระราชดำริ / รักชาติ บำรุงศาสนา เทิดทูน พระมหากษัตริย์ /สุขภาพ / ค่านิยม จิตสาธารณะ/ สิ่งเสพติด / ความฟุ่มเฟือย / การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง สร้างสังคมสันติสุข ความปรองดอง / สิ่งแวดล้อม พลังงาน / อุบัติภัย / ความคิด สร้างสรรค์ / ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ / นโยบาย รัฐบาล / การพร้อมรับการเป็นสมาชิกสังคม อาเซียน / ฯลฯ หมายเหตุ สถาบันเลือกดำเนินการอย่างน้อย ๒ เรื่อง

35 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
การดำเนินงาน เชิงปริมาณ รอบแรก รอบสอง ๓๙,๗๑๒ สถาบัน รอบสาม ๖๑,๕๑๐ สถาบัน เชิงคุณภาพ พันธกิจ สังคม ปฏิรูปการศึกษา ๑ ปฏิรูปการศึกษา ๒ ประโยชน์สถาบัน ประโยชน์ชาติ วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

36 วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์
ภาพคุณ คุณภาพ วิสัยทัศน์การบริหาร สมศ. ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์

37 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google