ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรมอนามัย ครั้งที่ 1/ 2556 วันที่ 26 พฤศจิกายน 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference โดย .. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1
2
วัตถุประสงค์การประชุม
ทราบการดำเนินงานที่ผ่านมา คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย เงินรางวัล ปี 2555 ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ กรมอนามัย ปี 2556 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 จาก ก.พ.ร. พิจารณาแนวทางดำเนินการต่อไป การคัดเลือกตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของกรมอนามัย มิติประสิทธิผล การกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการ ปี 2557 การลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมกับหน่วยงาน12 2
3
1 องค์ประกอบ บทบาทหน้าที่ กำหนดยุทธศาสตร์ และกลไกการพัฒนาระบบราชการ
คำสั่งกรมอนามัย ที่ 1134/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย สั่ง ณ วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 องค์ประกอบ อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดี ผอ.สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ปรึกษา รองอธิบดีกรมอนามัย (ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย) และ CCO ประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิ และหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย กรรมการ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรรมการและเลขานุการ บุคลากรของ กพร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ บทบาทหน้าที่ กำหนดยุทธศาสตร์ และกลไกการพัฒนาระบบราชการ สื่อสารให้บุคลากรทราบ เพื่อนำสู่การปฏิบัติ เสนอแนะ ให้คำปรึกษา ส่งเสริม สนับสนุน กำกับดูแล และแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงานตามความเหมาะสม 3
4
2 ปีงบประมาณ คะแนนการปฏิบัติราชการ เงินรางวัล ปี 2555 4.3674 8,649,396
คะแนนการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯของกรมอนามัย และจำนวนเงินรางวัลที่ได้รับ ปี ปีงบประมาณ คะแนนการปฏิบัติราชการ เงินรางวัล ปี ,649,396 ปี ,758,360 ปี ไม่มีเงิน 12,126,265 ปี ,429,358 รับจริง ,079,200 ปี ,350,118 ปี ,473,272 ปี ,479,486 ปี ,038,607 ปี ,046,779 4
5
ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ กรมอนามัย ปี 2556
3 ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯ กรมอนามัย ปี 2556 3.5896 = = = = = =N/A 5
6
ความเป็นมาของ ... การพัฒนาระบบราชการ
4 ความเป็นมาของ ... การพัฒนาระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินจำเป็น ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก ได้รับการตอบสนองความต้องการ มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย หลักการ บริหาร ตราขึ้นเป็น กฎหมาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ มาตรา 3/1 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ (แนวทางการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมชัดเจน) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ โดยจัดทำ “คำรับรองการปฏิบัติราชการ” สำนักงาน ก.พ.ร. 6
7
เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ นายกรัฐมนตรี และ ค.ร.ม. เพื่อสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ ความพร้อมรับผิดชอบ และโปร่งใส รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง โดยสร้างระบบความรับผิดชอบต่อผลงานในแต่ละระดับไว้อย่างเป็นรูปธรรม ใน 4 มิติ ได้แก่ ประสิทธิผล คุณภาพการบริการ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์กร รองปลัด หน.กลุ่มภารกิจ อธิบดี หน่วยงานในสังกัด 7
8
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557
สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) 8
9
รวมกันไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมที่สอดคล้อง กับนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล และ ภารกิจหลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวงที่มีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) รวมกันไม่เกิน 5 ตัวชี้วัด Joint KPI กำหนดจากยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) มี 11 ประเด็นใหม่ จะวัดเฉพาะกระทรวงที่เป็นเจ้าภาพ โดย ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องต้องร่วมดำเนินการ 9
10
ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) หลุดพ้นจากประเทศรายได้ ปานกลาง คน/คุณภาพชีวิต/ ความรู้/ ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน/ ผลิตภาพ/ วิจัยและพัฒนา ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) กฎ ระเบียบ การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) 10
11
ยุทธศาสตร์ประเทศ 4 ด้าน
Inclusive Growth ยุทธศาสตร์ย่อย 29 ประเด็น 16. แก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียม และ เหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง 17. พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 18. ปฏิรูปการศึกษา แรงงาน และอาชีวศึกษา 19. ระบบประกันสุขภาพ 20. การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือสังคม: OSCC) Growth & Competitiveness 1. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. การจัดการการใช้ที่ดินเพื่อ การเกษตร (Zoning) 3. ศูนย์กลางการผลิต 4. อุตสาหกรรมศักยภาพ 5. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว 6. ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพ 7. SMEs 8. OTOP 9. วิสาหกิจชุมชน 10. เขตเศรษฐกิจพิเศษ 11. การค้าชายแดนและความมั่นคง 12. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 13. การส่งเสริมการลงทุน 14. การวิจัยและพัฒนา 15. การกระตุ้นยอดส่งออก Green Growth 21. พลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 22. เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green City) 23. การรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ 24. นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม Internal Process 25. เพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐ เช่น การลดคอร์รัปชั่น 26. บูรณาการการบริหารราชการเชิงพื้นที่ 27. การจัดการข้อมูลและบูรณาการองค์ ความรู้ในภาคราชการ (g4share) 28. การแก้ไขปัญหาชายแดนใต้ 29. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน * Joint KPIs ปี 57 ก.สธ.เป็นเจ้าภาพ 11
12
Joint KPIs 2557 สศช. สำนักงาน ก.พ.ร. และ สำนักงบประมาณ ร่วมกัน กำหนด Joint KPIs ปี ประเด็น ส่งเสริมการลงทุน 1.1 Investment Trading อก. การจัดการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร (Zoning) กษ. การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม : OSCC) พม. 4. Green City มท. การเร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบและนำสันติสุขกลับสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยเร็ว สำนักนายก 6. SME และ OTOP 7. ปฏิรูปการศึกษา ศธ. 8. การผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ 9. การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle) 10. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว กก. 11. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กระทรวงสาธารณสุข มีความเกี่ยวข้อง ต้อง ร่วมดำเนินการ 3 ประเด็น หากกรมอนามัยเกี่ยวข้อง ต้องกำหนดเป็นตัวชี้วัด ของกรมด้วย 12
13
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข ต่อJoint KPI
ร่วมดำเนินการ จัดตั้งและ ประชาสัมพันธ์ศูนย์ช่วยเหลือ สังคม OSCC ปัญหาสำคัญ : การตั้งครรภ์ไม่ พร้อม การคุ้มครองทางสังคม (ศูนย์ช่วยเหลือทางสังคม :OSCC) 9. การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle) บูรณาการแผนงาน โครงการระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพ หลักเด็กแรกเกิด-ปฐมวัย 10. สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ก.สธ.เกี่ยวข้องในประเด็นความเชื่อมั่น :-พัฒนาธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพสำหรับชาวต่างประเทศ ให้มีองค์กรควบคุมดูแลกำหนดมาตรฐานรับรองคุณภาพบริการ ให้ผู้ประกอบการภัตตาคารและร้านอาหารควบคุมดูแลมาตรฐานและสุขอนามัยของตนเองให้มากขึ้นเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้บริโภค ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การจัดงานเทศกาลอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 13
14
การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10)
ตัวชี้วัดที่ 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) วิธีดำเนินการ : ทดลองในหน่วยงานนำร่อง ซึ่งสำนักงาน ก.พ.ร. เลือกงานบริการ กลุ่มเป้าหมาย : กรมบริการด้านเศรษฐกิจ 5 กรม ด้านสังคม 5 กรม รวม 10 กรม ระยะเวลาดำเนินการ : ธันวาคม 2556 – กันยายน 2557 การขยายผล : นำไปใช้ในการติดตามประเมินผลการให้บริการ ของทุกส่วนราชการ (กรมบริการ) ในปี 2558 หากกรมอนามัย ไม่ได้ถูกเลือกงานบริการ จะนำน้ำหนักไปเพิ่มในตัวชี้วัดที่ 1 14
15
สัญญาระดับคุณภาพการให้บริการ (SLA : Service Level Agreement)
Service Level Agreement (SLA) คือ พันธะสัญญาในการให้บริการของหน่วยงานบริการในแต่ละองค์กร ระหว่างผู้รับบริการ กับ ผู้ให้บริการ โดยมีการกำหนดเป้าหมาย ระดับประสิทธิภาพการส่งมอบงานบริการ การรับประกันไว้อย่างชัดเจน และรับรู้โดยทั่วกัน องค์ประกอบ วัตถุประสงค์ ในการให้บริการ 1 ตัวอย่าง มาตรฐานในการให้บริการทางศุลกากร มาตรฐานการปฏิบัติงาน 6 ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด 2 บริการ ที่สำคัญ แนวทาง/เวลา ให้บริการ 1. การนำเข้า/ส่งออกสินค้า โดยระบบ IT 2. กรณีสินค้าถูกตรวจสอบด้วยเครื่องเอกซเรย์ ภายใน 15 นาที 3. กรณีเจ้าหน้าที่เปิดตรวจสินค้า ภายใน 30 นาที 4.การตอบข้อซักถามเรื่องพิกัดอัตราศุลกากร ภายใน 30 วันทำการ ต่อชนิดสินค้า คำจำกัดความ 5 ผู้รับผิดชอบ ต่อพันธะสัญญา 3 ขอบเขตใน การให้บริการ 4 ประเมินผลจากกระบวนการดำเนินงาน 6 องค์ประกอบ 15
16
การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10)
ตัวชี้วัดที่ 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงาน 16
17
ตัวชี้วัดที่ 4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
(น้ำหนัก ร้อยละ 5) ระดับ ตัวชี้วัด 1 2 3 4 5 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 74 76 78 80 82 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 91 92 93 94 95 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีและขยายเวลาการเบิกจ่ายเงิน 6 เดือนแรก 43 45 47 49 51 กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) เป็นเจ้าภาพ ค่าเป้าหมายเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี ใช้ข้อมูลผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบการบริการการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 17
18
ตัวชี้วัดที่ 5 การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
(น้ำหนัก ร้อยละ 5) 1 2 ด้านไฟฟ้า ด้านน้ำมันเชื้อเพลิง ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินการใช้ พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงาน 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานที่ใช้จริง ครบถ้วน 12 เดือน 3 - 5 มีผลการคำนวณดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index, EUI) โดยอยู่ในช่วง ถึง 0 กระทรวงพลังงานเป็นเจ้าภาพ เป็นนโยบายของรัฐบาลในการให้ส่วนราชการลดการใช้พลังงานได้อย่างน้อย 10% รายงานข้อมูลผ่านเว็บไซต์ และประเมินผลจากข้อมูลในเว็บไซต์นี้ 18
19
ตัวชี้วัด 6 : การพัฒนาสมรรถนะองค์การ
(น้ำหนัก ร้อยละ 15) ประเมินผลจากความครบถ้วน ทันสมัย และส่งรายงานตามกำหนด ระดับความสำเร็จของการจัดทำ รายงานลักษณะสำคัญขององค์การ (ร้อยละ 2) จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ร้อยละ 3) ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาองค์การ ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ Survey Online เลือกประเด็นที่มีค่า GAP สูงที่สุดแต่ละด้าน มาทำแผน พัฒนาสมรรถนะองค์การ ประเมินผลจากการส่งแผนตามกำหนด และค่า GAP ครั้งที่ 1เปรียบเทียบกับครั้งที่ 2 (ร้อยละ 10) 19
20
ค่าส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (GAP) จากการสำรวจครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การพัฒนาบุคลากร ผู้ใช้งานสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรม ค่าเฉลี่ยกลาง 1.4 1.2 1.1 Xmax 3.4 3.7 2.3 ค่าเฉลี่ยกรมอนามัย 1.8 1.5 ค่าเฉลี่ยกลาง คือ ค่าเฉลี่ยของส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (GAP) ของทุกส่วนราชการ Xmax คือ ค่า GAP สูงที่สุดของทุกส่วนราชการ ค่าเฉลี่ยกรมอนามัย คือ ค่าเฉลี่ย GAP ของกรมอนามัย 20
21
ผู้ตอบ 568 คน จากข้าราชการ 1,370 บาท (ร้อยละ 41.46)
ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบ 568 คน จากข้าราชการ 1,370 บาท (ร้อยละ 41.46) ร้อยละของผู้ตอบจำแนกตามกลุ่มอายุ ร้อยละของผู้ตอบจำแนกตาม ประเภทตำแหน่ง 21
22
ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.4
ระดับ Gap ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร จำแนกตามข้อคำถาม (เรียงจากมากไปหาน้อย) ข้อ5. ส่วนราชการ มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/การลาออกมีแนวโน้มลดลง - ค่าความเห็นด้วย = 5.6 - ค่าความสำคัญ = 8.1 ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.4 ค่าเฉลี่ยกรม เท่ากับ 1.8 ข้อ3. ข้าพเจ้ามีความเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับ และการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความรู้ ความสามารถ และผลงาน ค่าความเห็นด้วย = 6.1 ค่าความสำคัญ = 8.3 22
23
ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.2
ระดับ Gap ความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ จำแนกตามข้อคำถาม (เรียงจากมากไปหาน้อย) ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.2 ค่าเฉลี่ยกรม เท่ากับ 1.8 ข้อ14. ฐานข้อมูล ของส่วนราชการ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก เข้าถึงได้ง่าย ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้รวดเร็ว ค่าความเห็นด้วย = 6.2 ค่าความสำคัญ = 8.2 23
24
ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.1
ระดับ Gap ความพึงพอใจการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ จำแนกตามข้อคำถาม (เรียงจากมากไปหาน้อย) ข้อ24. ส่วนราชการมีการให้รางวัลหรือยกย่อง ชมเชยบุคลากรที่ทุ่มเทให้แก่องค์การอย่างเหมาะสม ค่าความเห็นด้วย = 6.1 ค่าความสำคัญ = 8.2 ค่าเฉลี่ยกลาง เท่ากับ 1.1 ค่าเฉลี่ยกรม เท่ากับ 1.5 ข้อ20. สภาพแวดล้อมทำงาน ในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข ค่าความเห็นด้วย = 6.6 ค่าความสำคัญ = 8.4 ข้อ28. ส่วนราชการของข้าพเจ้า สามารถปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อการบรรลุภารกิจ ค่าความเห็นด้วย = 6.6 ค่าความสำคัญ = 8.4 24
25
ตัวชี้วัดที่ 7 การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
วัดกระบวนงานตามภารกิจที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดทุจริตคอร์รัปชั่น และเกี่ยวข้องกับการให้บริการต่อประชาชนโดยตรง ประเมินจากผลการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการใน ปี ร่วมกับผลการรับฟังความเห็นจากภาคเอกชน และประชาชนทั่วไปผ่านช่องทางเว็บไซต์ ( ตู้รับเรื่องร้องเรียน และสายด่วน 1206 ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดผลลัพธ์ในการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 2 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ 3 สำรวจความพึงพอใจ โดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอก 25
26
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส
ในการปฏิบัติราชการของกรมอนามัย กระบวนงานศึกษาวิจัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปัญหาหลักของกระบวนการศึกษาวิจัยฯ ด้านเงิน ด้านคุณภาพ ใช้งบประมาณผิดประเภท/ผิดระเบียบ จัดจ้างในราคาสูงเกินจริง ไม่ดำเนินการจริง แต่มีการเบิกจ่าย ไม่มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ไม่มีการนำไปใช้ประโยชน์ 26
27
เสริมพลังประชาชน/ผู้รับบริการ
เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายงบประมาณและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้กฎหมาย บทลงโทษ ที่เด็ดขาดแก่ ผู้กระทำความผิด กฎหมาย กฎระเบียบ คลัง กตส. สร้างระบบตรวจสอบ ควบคุม การเบิกจ่ายงบฯ ที่ถูกต้องตามระเบียบฯ สร้างระบบกำกับ ติดตาม ประเมินผล ระหว่างกระบวนงานวิจัย และนำผลงานวิจัยไปต่อยอดใช้ประโยชน์ กำหนดเกณฑ์ในการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย ที่ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น พัฒนาเครื่องมือ แนวทางการดำเนินงาน กตส. กพร. กพว. เสริมพลังประชาชน/ผู้รับบริการ เปิดโอกาสให้ผู้วิจัยมีช่องทางเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมนโยบายป้องกันทุจริตคอร์รัปชั่นของกรมอย่างจริงจัง กพร. สลก. 27
28
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557
สำนักงาน ก.พ.ร. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรม ที่สอดคล้องกับนโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล และภารกิจ หลักของกระทรวง 2. ตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 3. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) รอความชัดเจนจากก.พ.ร.และกระทรวง การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 4. การเบิกจ่ายงบประมาณ 5. การประหยัดพลังงาน การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ 7. การสร้างความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ (5) (15) (5) (5) ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการในภาพรวมของกรม 28
29
ประเด็นเพื่อพิจารณา การคัดเลือกตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของกรมอนามัย
มิติประสิทธิผล 2. การกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน 3. กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการ ปี 2557 4. การลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมกับ หน่วยงาน12 29
30
การพิจารณา 1 : ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯของกรมอนามัย มิติประสิทธิผล
เลือกตัวชี้วัด และหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัดระดับกรม ปี ผลงาน /เป้าหมาย (คะแนน) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร /154 แห่ง (1.00) สถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นเยาวชน /30% (4.03) อปท. มีการจัดการสุขาภิบาลอาหาร /30 แห่ง (5.00) ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ /72% (3.07) 30
31
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ข้อมูลนำเข้า ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 1.พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย (10) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ (26) 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการ (8) เป้าหมายกระทรวง อัตราส่วนมารดาตาย พัฒนาการสมวัย เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน อัตราคลอดในมารดา 15-19ปี ANC คุณภาพ WCC คุณภาพ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ รพ.สต./ศสม.ที่ให้บริการ สุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น โครงการพระราชดำริฯ 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. โรงพยาบาลสายใยรัก 3. ตำบลนมแม่ เด็กปฐมวัย และสตรี 4. ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง 5. พัฒนาการเด็กตามวัย 6. ฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน 7. ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 8. เด็กวัยเรียนสูงดี รูปร่างสมส่วน 9. โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา 10. YFHS 11. อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 12. ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น วัยทำงาน 13. คลินิก DPAC 14. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 15. องค์กรต้นแบบไร้พุง ผู้สูงอายุและผู้พิการ 16. พัฒนาทักษะกายใจ 17. Long term Care 18. โรคในช่องปากผู้สูงอายุ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 19. จัดการมูลฝอยติดเชื้อ 20. รพ.สธ. ได้มาตรฐาน ด้าน Env.H 21. ส้วมสาธารณะ HAS 22. ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ 23. อปท. มีคุณภาพ ระบบบริการ Env.H 24. จังหวัดที่มีกลไก คุ้มครองสิทธิ ด้าน Env.H เป้าหมายกรมอนามัย 31
32
การพิจารณา 2 : การกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรอง
การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน 32
33
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ข้อมูลนำเข้า ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 1.พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย (10) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ (26) 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการ (8) เป้าหมายกระทรวง อัตราส่วนมารดาตาย พัฒนาการสมวัย เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน อัตราคลอดในมารดา 15-19ปี ANC คุณภาพ WCC คุณภาพ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ รพ.สต./ศสม.ที่ให้บริการ สุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น โครงการพระราชดำริฯ 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. โรงพยาบาลสายใยรัก 3. ตำบลนมแม่ เด็กปฐมวัย และสตรี 4. ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง 5. พัฒนาการเด็กตามวัย 6. ฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน 7. ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 8. เด็กวัยเรียนสูงดี รูปร่างสมส่วน 9. โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา 10. YFHS 11. อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 12. ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น วัยทำงาน 13. คลินิก DPAC 14. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 15. องค์กรต้นแบบไร้พุง ผู้สูงอายุและผู้พิการ 16. พัฒนาทักษะกายใจ 17. Long term Care 18. โรคในช่องปากผู้สูงอายุ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 19. จัดการมูลฝอยติดเชื้อ 20. รพ.สธ. ได้มาตรฐาน ด้าน Env.H 21. ส้วมสาธารณะ HAS 22. ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ 23. อปท. มีคุณภาพ ระบบบริการ Env.H 24. จังหวัดที่มีกลไก คุ้มครองสิทธิ ด้าน Env.H เป้าหมายกรมอนามัย 33
34
กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 6
ข้อมูลนำเข้า จำนวนตัวชี้วัดระดับกระทรวงและกรมที่หน่วยงานส่วนกลางมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ลำดับ หน่วยงาน จำนวนตัวชี้วัด กระทรวง กรม 1 สำนักทันตสาธารณสุข 4 2 สำนักส่งเสริมสุขภาพ 5 8 3 สำนักโภชนาการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 6 สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 7 สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข 9 ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย 10 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 34 จำนวนตัวชี้วัดที่ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ร่วมดำเนินการ
35
ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน
หน่วยงานวิชาการ ตามจำนวนตัวชี้วัดกรมที่ลงนามกับกระทรวง หากไม่ได้รับผิดชอบตัวชี้วัดกรมที่ลงนามกับกระทรวง ให้เลือกตัวชี้วัดที่หน่วยงานรับผิดชอบ แต่ไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด หน่วยงานสนับสนุน และ ศพส. กทต. ให้เสนอตัวชี้วัดที่สนับสนุนการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด ศูนย์อนามัยที่ 1-12 การสนับสนุนเขตสุขภาพ ด้านวิชาการ ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการประสานงาน ฯลฯ 35
36
การกำหนดตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. คุณภาพการให้บริการ หากกรมอนามัยไม่ถูกเลือกงานบริการ จะกำหนดเป็นตัวชี้วัดหรือไม่ ? มิติภายนอก (ร้อยละ 70) มิติภายใน (ร้อยละ 30) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 10) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ 4. การประหยัดพลังงาน 5. การป้องกันปราบปรามการทุจริต (ตัวชี้วัดเดิม รายงานต่อ ปปช.) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 20) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ ให้กำหนดเป็นตัวชี้วัด เพิ่มเติมหรือไม่ ? 36
37
การพัฒนาองค์การกรมอนามัย
ข้อเสนอจากคณะทำงาน PMQA 15 พฤศจิกายน 2556 การดำเนินงานของ เจ้าภาพหมวด 1-6 การดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัด ทบทวนคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และเพิ่มคณะประสานงานระหว่างหมวด ส่วนที่ 1 ดำเนินการตัวชี้วัด มิติการพัฒนาองค์การ ร่วมกับกรมอนามัย ตัวอย่าง ส่วนที่ 1 เจ้าภาพหมวดพัฒนาระบบงานต่าง ๆ ตามแนวทาง PMQA ในภาพรวมของ กรมอนามัย โดยนำผล Survey Online มาพิจารณาด้วย ส่วนที่ 2 การพัฒนาองค์กรภายในหน่วยงาน และรายงานผลการพัฒนาให้กรมอนามัยทราบ (ไม่เป็นตัวชี้วัด) ส่วนที่ 2 ส่วนที่ต้องการให้หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ประเด็นพิจารณา : เห็นชอบตามแนวทางที่คณะทำงานเสนอหรือไม่ 37
38
ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน
ตัวอย่าง ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล ตัวชี้วัดที่ 7 หมวด2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและความคาดหวัง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) ของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 8 หมวด3 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลแผน/ผลการดำเนินงาน โครงการและงบประมาณให้มีความครบถ้วน และทันสมัย ตัวชี้วัดที่ 9 หมวด4 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร กรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 10 หมวด5 ประเด็น การปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 11 หมวด6 38
39
คำถามที่มีค่า Gap สูงสุด ในแต่ละด้าน
พิจารณา แนวทางแก้ไข คำถามที่มีค่า Gap สูงสุด ในแต่ละด้าน ข้อ5. ส่วนราชการ มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/การลาออกมีแนวโน้มลดลง การเป็นหัวหน้าที่ดี การสื่อสาร ข้อ3. ข้าพเจ้ามีความเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับ และการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความรู้ ความสามารถ และผลงาน โปร่งใส ข้อ14. ฐานข้อมูล ของส่วนราชการ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก เข้าถึงได้ง่าย ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้รวดเร็ว พัฒนาระบบIT ข้อมูลถูกต้อง ทันสมัย ข้อ24. ส่วนราชการมีการให้รางวัลหรือยกย่อง ชมเชยบุคลากรที่ทุ่มเทให้แก่องค์การอย่างเหมาะสม ข้อ20. สภาพแวดล้อมทำงาน ในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าทำงานอย่างมีความสุข ข้อ28. ส่วนราชการของข้าพเจ้า สามารถปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อการบรรลุภารกิจ 39
40
การพิจารณา 3 : กลไกการดำเนินงานพัฒนาระบบราชการ ปี 2557 40
41
กลไกการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ปี 2557
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย หน่วยงานเจ้าภาพตัวชี้วัด คณะทำงาน หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 คณะทำงานพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ คณะทำงานประสาน และสนับสนุน PMQA เครือข่าย กพร. หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประเด็นพิจารณา : เห็นชอบตามแนวทางที่คณะทำงานเสนอหรือไม่ 41
42
การพิจารณา 4 : การลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ระหว่างกรมอนามัยกับหน่วยงาน 42
43
ปฏิทินดำเนินการ ประชุมแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2557 28-29 ต.ค.56 ประชุมหารือคณะทำงาน PMQA 15 พ.ย. 56 ประชุม Conference เพื่อคัดเลือกตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ระดับกรมและหน่วยงาน 26 พ.ย.56 เจ้าภาพจัดทำเกณฑ์การประเมินระดับกรมและหน่วยงาน 1-15 ธ.ค.56 24-25 ธ.ค.56 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินให้หน่วยงาน ลงนามคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน ม.ค.57 43 43
44
ข้อพิจารณา : การลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี ระหว่างกรมอนามัยกับหน่วยงานในสังกัด จะจัดให้มีพิธีลงนามคำรับรองฯ หรือไม่ ? ช่วงเวลา : ในการประชุมผู้บริหารกรมอนามัย ประจำเดือนมกราคม 2556 สถานที่ : ห้องประชุมกำธรสุวรรณกิจ กรมอนามัย ข้อเสนออื่น ๆ 44
46
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ Organization Objective
Past Performance Purpose Internal environment External environment Vision Shared Values Mission Core Competency Organization Objective ยุทธศาสตร์ 1 2 3 4 KPIs ยุทธวิธี KPIs Strategic Goals Program Project Activity ขั้นตอนการคิด ทำจากบนลงล่าง ขั้นตอนการทำ ทำจากล่างขึ้นบน
47
สาระสำคัญของเกณฑ์ PMQA
2 PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล 1. การนำ องค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนิน การ 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
48
การจัดการองค์การตามแนวทาง PMQA
การนำองค์การเชิงยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผลลัพธ์การดำเนินงาน การนำ องค์การ กระบวนการสร้างคุณค่า มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ กระบวนการ สนับสนุน มิติด้านประสิทธิผล ตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจ C/SH การจัดทำยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด กลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ ระบบงาน มิติด้านการ พัฒนาองค์การ สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความผาสุกและความ พึงพอใจ ของบุคลากร การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้าง แรงจูงใจ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ การวัดและวิเคราะห์ ผลการดำเนินการ 48
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.