ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยFah Sivaraksa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม SRRT ให้สอบสวน ควบคุมโรคทันที – รายงานทุกศูนย์วิชาการเขต
2
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต จัดตั้งศูนย์วิชาการของเขต มีตัวแทนของแต่ละศูนย์ คณะทำงานระดับเขตในการป้องกันควบคุมโรค อหิวาตกโรค - ผอก. สคร. ประธาน ฯ นักวิชาการ สคร. เป็น เลขา ฯ ( หน. กลุ่มโรคติดต่อทั่วไป หน. กลุ่มระบาดวิทยา งาน อาหารและน้ำ ) - ผอก. ศูนย์วิทย์ รองประธาน ฯ ( หน. กลุ่มงานพยาธิวิทยา หน. กลุ่มงานคุ้มครอง ผู้บริโภค เขต 1,2 : ส่วนกลาง ) - ศูนย์อนามัย รองประธาน ฯ ( หน. กลุ่มพัฒนาฯ หน. งานอนามัยสิ่งแวดล้อม นวก. ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ) กำหนดบทบาทหน้าที่แต่ละศูนย์ และสิ่งสนับสนุนของ แต่ละศูนย์ กำหนดให้ชัดเจน การประชุม แต่ละหน่วยงานแจ้งผลการดำเนินงานและ การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์
3
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต เป็นคณะทำงานเฉพาะกิจของโรคอหิวาตกโรค ผู้ตรวจเป็นผู้ออกคำสั่ง ส่งรายชื่อผู้ทำงาน และเบอร์มือถือ และ E-mail เมื่อเกิดการระบาด ติดตามสถานการณ์ มีการ แลกเปลี่ยนข้อมูล สิ่งสนับสนุนทางด้านวิชาการ ทีมลงพื้นที่พร้อมกันในกรณีที่เกินขีดจำกัดของทีม จังหวัด หรือจังหวัดร้องขอ - สคร. สอบสวน เห็นปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม น้ำ ไม่มี residual CL อื่นๆ ต้องมีการประสานทุกศูนย์ฯ ด่วน เชิญประชุม - ศูนย์วิทย์ สนับสนุนแครีแบร์ ตรวจ Lab - ศูนย์อนามัย ส่งทีมปฏิบัติงานลงพื้นที่ร่วมด้วย ทำงานเชิงรุก สนับสนุน test kit ตรวจอาหาร โซดาไฟ คลอรีน
4
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กิจกรรมดำเนินงาน ประชุม war room สอบสวน เบื้องต้น สคร. สรุปสถานการณ์รายวัน / รายสัปดาห์ แจ้งส่ง ให้กับศูนย์วิทย์ ศูนย์อนามัย สอบสวนโรค ทำลายเชื้อ สคร. เรียกประชุมเป็นครั้งคราว สคร. ขอสนับสนุนทั้ง 2 ศูนย์ ได้ทันที เสนอผู้ตรวจให้มี คณะกรรมการที่ปรึกษา โดย ผู้ตรวจฯ
5
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต ใช้เวทีของ คปสข. ซึ่งเป็นในระดับบริหาร ควรเป็นระดับผู้ปฏิบัติงาน แล้วค่อยสรุปข้อมูลส่ง คปสข.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.