ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
โดย น.พ.สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงสาธารณสุข (ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข) เลขานุการศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร
3
นโยบายของรัฐบาล ปี เป็นปี แห่งสุขภาพอนามัย โดยอาหารที่บริโภค ภายในประเทศ มีความปลอดภัย และได้มาตรฐาน ทัดเทียมสากล
4
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 4 มีนาคม 2546
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 4 มีนาคม 2546 ควบคุมการนำเข้ายา เภสัชเคมีภัณฑ์ อาหารสำเร็จรูป วัตถุดิบในการผลิตอาหาร (ยกเว้นเนื้อสัตว์ ปลาทูน่าและ กุ้ง) ขึ้นทะเบียนและควบคุมการจำหน่ายยา เภสัชเคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ อนุญาตประกอบการโรงงานแปรรูปอาหาร ตรวจสอบควบคุม มาตรฐานและกระบวนการผลิตโรงงานผลิตอาหารเพื่อจำหน่าย ในประเทศ ตรวจสอบรับรองอาหารที่จำหน่ายในประเทศ
5
การนำเข้า การผลิต-ฟาร์ม การแปรรูป การจำหน่าย พัฒนาผู้บริโภค
ROAD MAP การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อบริโภค ปี การนำเข้า การผลิต-ฟาร์ม การแปรรูป การจำหน่าย พัฒนาผู้บริโภค 1. ปัจจัยการผลิต - ยาสัตว์ - เภสัชเคมีภัณฑ์ - เคมีวัตถุทาง การเกษตร 1.ตรวจรับรอง ฟาร์มมาตรฐาน 1.ตรวจรับรองสถานที่ ผลิตอาหารเพื่อการ บริโภคภายใน ประเทศ 1.ตรวจสอบสาร ปนเปื้อน 6 ชนิด ในอาหารสด 1.อย.น้อย 2.สร้างกระแส/สื่อ 2.ติดตามการใช้ ปัจจัยการผลิต 3.ประชาสัมพันธ์ ตราสัญลักษณ์ 2.ตรวจสอบฉลาก อย. ในอาหารแปรรูป 2.ตรวจรับรองโรงงาน แปรรูปสินค้า เกษตรและอาหาร เพื่อการส่งออก 2. อาหาร 3.ตรวจรับรองคุณภาพ ก่อนส่งออก 3.ตรวจสถานที่ จำหน่าย - ตลาดสด - ซุปเปอร์มาร์เก็ต - ร้านอาหาร แผงลอย 4.สร้างส่วนร่วม ภาคประชาชนและ ภาคเอกชน 3. วัตถุดิบ 3.การเฝ้าระวังติดตาม การใช้สารเคมี ยาสัตว์ และ เภสัชภัณฑ์ - สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน/พัฒนาความเชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศ/ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ - พัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับสากล/พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ/รณรงค์ล้างตลาดทั่วประเทศและตรวจอาหารในโรงเรียน - มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและองค์กรท้องถิ่นหน่วยงานหลักเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในพื้นที่
6
ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร
สถานการณ์ อาหารสด ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร สารปนเปื้อน ก่อนโครงการ มีค.46 มี.ค.48 ร้อยละ สารเร่งเนื้อแดง 96 10.58 สารฟอกขาว 10 0.41 สารกันรา 17.2 1.45 บอแรกซ์ 42 0.64 ฟอร์มาลิน 1.21 ยาฆ่าแมลง 20.6 3.58
7
แผนยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข
1. ด้านการพัฒนามาตรฐานกฎหมายให้เป็นสากล 2. ด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแลให้อาหาร ปลอดภัย 3. ด้านการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค 4. ด้านการพัฒนาบุคลากรและกระบวนการทำงาน 5. ด้านการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ GMP
8
- ประสานความร่วมมือ - กลไกทางกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้
กลไกการดำเนินงาน 1. บทบาทภาครัฐ - ประสานความร่วมมือ - กลไกทางกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้ 2. บทบาทด้านผู้ประกอบการ - มีจิตสำนึกและรับผิดชอบต่อสังคม 3. บทบาทด้านผู้บริโภค - มีความรู้ มีส่วนร่วม
9
การประเมินผล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
10
ก้าวต่อไปของ “ Food Safety ”
11
1. สถานที่ผลิต และแปรรูปอาหาร
1. สถานที่ผลิต และแปรรูปอาหาร “ ได้ GMP 100 % ”
12
2. อาหารสด “ มีป้าย Food Safety 80 % ”
13
“ มีป้าย Clean Food Good Taste 80% ”
3. อาหารปรุงจำหน่าย “ มีป้าย Clean Food Good Taste 80% ”
14
“ ทุกอำเภอมีถนนอาหารปลอดภัย ”
4. ปี 2549 “ ทุกอำเภอมีถนนอาหารปลอดภัย ”
15
5. เพิ่มการเฝ้าระวัง - เชื้อจุลินทรีย์ในอาหารถุง - Aflatoxin ในถั่ว
5. เพิ่มการเฝ้าระวัง - เชื้อจุลินทรีย์ในอาหารถุง - Aflatoxin ในถั่ว - น้ำมันทอดซ้ำ
16
“ ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ทุกแห่ง ”
6. ตลาดสดประเภท 1 “ ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ทุกแห่ง ”
17
7. ขยายการตรวจสอบเคลื่อนที่
“ ครบทุกจังหวัด ”
18
8. จัดตั้งด่านอาหารและยา
“ ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ”
19
9. พัฒนาห้องปฏิบัติการ และ
“ ชุดทดสอบเบื้องต้น ”
20
10. อ.ย.น้อย อ.ย.สอนน้อง อ.ย.อาชีวะ
21
11. ประสานกับกระทรวงเกษตรฯ
“ เพื่อควบคุมแหล่งผลิต ”
22
“ ความปลอดภัยด้านอาหาร ”
12. E-Learning “ ความปลอดภัยด้านอาหาร ”
23
13. ความร่วมมือ ระหว่างกระทรวง ระดับนานาชาติ
24
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.