งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1 ด.ช. รังสิชนม์ วีรโชติโยธิน ชั้น ม.1/2 เลขที่ 44 2 ด.ญ.ฐิตาภรณ์ ชูโต ชั้น ม.1/2 เลขที่ 9 3 ด.ญ.นรมน ทารักษา ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23 4ด.ช.ปิยพนธ์ ปิยะพันธ์ ชั้น ม.1/2 เลขที่ 32 5 ด.ญ.ปิยาพัชร เข็มกลัด ชั้น ม.1/2 เลขที่ 33

2 บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ ชื่อ ค่าดัชนีมวลกาย ระดับมวลกาย ปัญหา สาเหตุ
รังสิชนม์ 20.31 ปกติ ไม่ได้มีปัญหาอะไรเพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน ทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกำลังกาย ฐิตาภรณ์ 19.05 นรมน 21.36 ออกกำลังกายทุกวัน ปิยพนธ์ 16.22 น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีปัญหาน้ำหนักน้อยเกินไปและร่างกายขาดความอ่อนตัว ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ปิยาพัชร 19.23 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

3 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น เพศชาย เสียงแตกหนุ่ม มีกล้ามเนื้อมากขึ้น มีเครา เพศหญิง หน้าอกมีขนาดใหญ่ขึ้น สะโพกผายออก 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ ไม่ควรรับประทานอาหารกลุ่มมังสวิรัติ เพราะส่วนใหญ่จะเลือกทานอาหารไม่ครบถ้วนทุกหมู่ ทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ขี่จักรยาน

4 บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม
1.   แบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม 2.   วางแผนการบันทึกการทดสอบสมรรถภาพ การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  3.   ชวนสมาชิกภายในกลุ่มออกกำลังกายและควบคุมการรับประทานอาหาร 4.   บันทึกน้ำหนักส่วนสูง  การชั่งน้ำหนักทุกอาทิตย์ 5.   นัดวันทดสอบสมรรถภาพทางรางกาย 6.   บันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพ 7.   ให้สมาชิกทุกคนภายในกลุ่มควบคุมน้ำหนักของตนเองและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

5 บทที่4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก นน./ลส. 10/11/2012 21/11/2012
1/12/2012 12/12/2013 24/12/2013 5/01/2013 22/01/2013 29/01/2013 รังสิชนม์ ลส. 62/166 61/166 60/167 59/168 60/168 59/169 58/169 ฐิตาภรณ์ นน. 48/159 47/159 49/160 48/161 49/162 50/162 นรมน 50/158 52/158 51/158 52/159 54/159 55/159 ปิยพนธ์ 50/167 50/168 49/168 49/169 49/170 47/171 47/172 48/172 ปิยาพัชร 55/163 56/163 54/164 55/164 54/165 53/166

6 บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน
รังสิชนม์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 62 ส่วนสูง 166 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 58 ส่วนสูง 169 น้ำหนักลด4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม3เซนติเมตร สาเหตุ ควบคุมอาหารและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ฐิตาภรณ์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 48 และส่วนสูง159 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง 162 น้ำหนักเพิ่ม2กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 3 เซนติเมตร สาเหตุ ทานอาหารที่มีประโยชน์ นรมนในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง158 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 54 ส่วนสูง 159 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 1เซนติเมตร สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกาย ปิยพนธ์ในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก50 ส่วนสูง 167 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 48 ส่วนสูง 172 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัม ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 5 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกายแต่กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ปิยาพัชรในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก 55 ส่วนสูง 163 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 53 ส่วนสูง 166 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัมส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกาย

7 บรรณานุกรม http://zayyes.com/index.php?topic=6151.0


ดาวน์โหลด ppt โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google