ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ญ. ณัฐณิชา มีแสง ม.1/3 เลขที่ 10 ด.ญ. อุษา แก้วคำ ม.1/3 เลขที่ 50 ด.ช. ชาญวิทย์ คำบุญเรือง ม.1/3 เลขที่ 9 ด.ญ.ธนสรณ์ หมอกชัยม.1/3 เลขที่ 15 ด.ช. กษิดิศ มานารัตน์ 1/3 เลขที่ 2 กลุ่ม number1
2
บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ ณัฐณิชา หนัก 58 สูง 162 ซม.อ่อนตัว 17 ดันพื้น 24 ลุกนั่ง 23 วิ่ง800ม ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ อุษา หนัก 90 สูง 158 ซม.อ่อนตัว 2 ดันพื้น 12 ลุกนั่ง 16 วิ่ง800ม ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ ชาญวิทย์ หนัก 47 สูง 163 ซม.อ่อนตัว 2 ดันพื้น 40 ลุกนั่ง 40 วิ่ง800ม ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ที่สมส่วนเพราะว่าออกกำลังกายสม่ำเสมอ และรับประทาน อาหารครบ5หมู่ ธนสรณ์ หนัก 60 สูง 173 ซม.อ่อนตัว 3 ดันพื้น 25 ลุกนั่ง 25 วิ่ง800ม อยู่ในเกณฑ์เริ่มอ้วน สาเหตุ รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยนช์ ไม่รับประทานอาหารผัก ผล ไม้ และไม่ออกกำลังกาย กษิดิศ หนัก 41 สูง 161 ซม.อ่อนตัว 2 ดันพื้น 35 ลุกนั่ง 35 วิ่ง800ม อยู่ในเกณฑ์เริ่มอ้วน สาเหตุ รับประทานอาหารที่ไม่มีประโยนช์ ไม่รับประทานอาหารผัก ผล ไม้ และไม่ออกกำลังกาย โดยส่วนรวมได้ได้จัดการเรื่องควบคุมน้ำหนักแล้ว และถือว่าอยู่ในระดับดีครับ
3
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะ ได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และ ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ และครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น ควรได้รับวันละ แคลอรี โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการ เจริญเติบโต ควรได้รับวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความ ต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ว่ายน้ำ ขี่ จักรยาน
4
บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบ 2. ให้สมาชิกแต่ละคนชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกๆวันจันทร์ 3. ให้สมาชิกในกลุ่มทดสอบสมรรถภาพทางกายทุกๆวันศุกร์ 4. ให้สาชิกในกลุ่มจดข้อมูลต่างๆของร่างกาย 5. ให้สมาชิกในกลุ่มหมั่นออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
5
บทที่4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก นน./ลส. ณัฐณิชา นน. 58/162 อุษา
4/12/12 11/12/12 18/12/12 25/12/12 2/1/13 8/1/13 15/1/13 22/1/13 ณัฐณิชา นน. 58/162 อุษา 90/158 ชาญวิทย์ ลส. 47/163 45/163 ธนสรณ์ 60/173 กษิดิศ 41/161 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง800ม. ณัฐณิชา 58/58 161/162 2/2 23/24 21/23 4.42/4.56 อุษา 90/90 158/158 1/2 11/12 15/16 5.12/5.17 ชาญวิทย์ 44/47 158/163 2/3 35/40 39/40 4.36/4.10 ธนสรณ์ 60/60 173/173 23/25 4.52/4.58 กษิดิศ 41/41 158/161 30/35 4.32/4.05
6
บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน
ผล สำเร็จ เพราะคนที่เริ่มอ้วนมีน้ำหนักลดลงไปทีละนิด เนื่องจากมีการทานอาหารที่ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย และออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
7
สรุป/บรรณานุกรม rabb-prasath-laea-txm-ri-thx/1-5-naewthang-kar-phathna-tnxeng-hi-teibto-smway
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.