ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSakchai Chirathivat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ... ...ด้วยมืออาชีพ
เครือข่ายโทรทัศน์ครูภูมิภาค ภาคกลางตอนล่าง มหาวิทยาลัยศิลปากร (แม่ข่าย) สร้างครูมืออาชีพ... ...ด้วยมืออาชีพ สร้างเครือข่าย ขยาย แบ่งบัน
2
ความเป็นมา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.)ได้เสนอ แผนโครงการโทรทัศน์ครู ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “ โครงการพัฒนาระบบ Teacher TV : การวิเคราะห์นโยบาย เนื้อหา ออกแบบ จัดทำบทรายการ พัฒนาและผลิตเผยแพร่เนื้อหาบนสื่อ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ตามแผนกระตุ้นเศรษฐกิจปี โดยคณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดำเนินโครงการและได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นผู้บริหารโครงการ ระยะเวลา 3 ปี ( )
5
วัตถุประสงค์โครงการ 1) เพื่อพัฒนารายการโทรทัศน์คุณภาพสูงที่เอื้อประโยชน์ ต่อการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะครู เพื่อกระตุ้นให้เกิดวงจรการพัฒนาในวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง 2) เพื่อพัฒนาสื่อ / ช่องทางสำหรับการเผยแพร่และถ่ายทอดรายการให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง
6
วัตถุประสงค์โครงการ 3) เพื่อสร้างแหล่งความรู้ ที่รวบรวมวิธีปฏิบัติในด้านการเรียนการสอนที่ดี ข้อมูล ข่าวสาร ที่เชื่อมโยงเรื่องการศึกษา อันจะเป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ เพื่อการพัฒนาทักษะในวิชาชีพครู ที่ครู ผู้บริหารโรงเรียน ผู้กำหนดนโยบาย และบุคคลที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ 4) เพื่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งในคณะศึกษาศาสตร์ โรงเรียน และ หน่วยงานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องทั่วประเทศ
7
การประชาสัมพันธ์โครงการ
ระยะที่ 1 สร้างการรับรู้ในกลุ่มเป้าหมาย โดยการทำประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ ดังนี้ 1. Free TV 2. Road Show สัมมนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ผู้นำการศึกษาชุมชุน 3. DVD Kit 4. สื่อประชาสัมพันธ์อื่นๆ เช่น โปสเตอร์, แผ่นพับ, นิตยสารแจกฟรี
10
การประชาสัมพันธ์โครงการ
ระยะที่ 2 ทดลองใช้ ทำความเข้าใจ มีช่องทางในการรับชมที่สะดวก ได้แก่ ฟรีทีวี เว็บไซต์ ดีวีดี โทรทัศน์ ดาวเทียม(เคเบิ้ลทีวี) โทรทัศน์อินเตอร์เน็ท(IPTV) ระยะที่ 3 ติดตามรายการอย่างต่อเนื่อง (Engagement) การจัดเนื้อหารายการและกิจกรรมพิเศษให้น่าสนใจ มีการผลิตรายการที่เป็นรูปแบบการให้ผู้เชี่ยวชาญ ลงไปศึกษาปัญหา และเสนอแนะ , มีการให้ข้อมูลข่าวสารตามความสนใจของสมาชิก เพื่อให้สอดรับกับความต้องการของผู้ชม
11
การประชาสัมพันธ์โครงการ
4. การดำเนินการจัดตั้งเครือข่ายครู การดำเนินการจัดตั้งเครือข่ายครู 9 ภูมิภาค มีองค์ประกอบเครือข่าย ดังนี้
12
1) เครือข่ายภาคเหนือตอนบน
2) เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง 3) เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 4) เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 5) เครือข่ายภาคกลางตอนบน 6) เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง 7) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก 8) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน 9) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง แผนปฏิบัติการเครือข่ายโทรทัศน์ครู 9 ภูมิภาค
14
เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
ประกอบด้วย นครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, กาญจนบุรี,สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, สุพรรณบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (แม่ข่าย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
15
เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
สำนักงานเขตพื้นที่ในภาคภูมิภาค สพป.นครปฐม เขต 1-2 สพป.ราชบุรี เขต 1-2 สพป.เพชรบุรี เขต 1-2 สพป.กาญจนบุรี เขต 1-4 สพป.สมุทรสาคร เขต 1 สพป.สุพรรณบุรี เขต 1-3 สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1-2 สพป.สมุทรสงคราม เขต 1
16
เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
สำนักงานเขตพื้นที่ในภาคภูมิภาค สพม. เขต 1-2 (กรุงเทพมหานคร) สพม. เขต 3 (นนทบุรี,พระนครศรีอยุธยา) สพม. เขต 8 (ราชบุรี,กาญนบุรี) สพม. เขต 9 (สุพรรณบุรี,นครปฐม) สพม. เขต 10 (เพชรบุรี, สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์)
24
การสมัครสมาชิก โทรทัศน์ครู
การสมัครสมาชิก โทรทัศน์ครู
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.