งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันการศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันการศึกษา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันการศึกษา

2 ความหมาย ของคำว่า Education
มาจากภาษาลาติน ว่า Educare educere

3 ความหมายของคำว่าการศึกษา
“ศึกษา” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี ว่า สิกขา ในทางพุทธศาสนา การศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคคลให้ดียิ่งขึ้น ทั้ง ทางกาย วาจา ใจ และสติปัญญาคือ ทางกายและวาจา ศีล ทางใจ สมาธิ ทางปัญญา ปัญญา

4 สรุป ความหมายของการศึกษา
สรุป ความหมายของการศึกษา คือ วิธีการทำให้คนเกิดความต้องการอยากพัฒนาตนเอง และเรียน รู้อย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆตลอดชีวิต เพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม และพัฒนาให้ดีขึ้น มีชีวิตที่ถูกต้องดีงาม และมีสมรรถภาพ เป็นประโยชน์และมีความสุขทั้งตนเองและสังคม

5 ปณิธานในการจัดการศึกษา
จุดมุ่งหมายพื้นฐานคือ ให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ และนำความรู้มาประยุกต์ใช้กับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ในลักษณะที่ก่อให้เกิด ผลดี ทั้งต่อตนเองและสังคมโดยส่วนรวม

6 ความรู้ คือ สิ่งที่เราไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เมื่อเราได้ ฟัง ดู ดม ลิ้มรส สัมผัสทางกาย เราได้รู้จักประสบการณ์นั้น จะเกิดการรู้ และจำได้หมายรู้

7 ความรู้มี 3 สาขา คือ 1. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 2. สังคมศาสตร์
3. มนุษยศาสตร์

8 จุดเริ่มต้นของการศึกษา
จุดเริ่มต้นของการศึกษา เรียก ปัจจัยแห่ง สัมมาทิฏฐิ มี 2 อย่าง คือ 1. ปัจจัยภายนอก ( ปรโตโฆสะ ) อาจเรียกวิธีการ แห่งศรัทธา 2. ปัจจัยภายใน (โยนิโสมนสิการ ) อาจเรียกวิธีการแห่งปัญญา

9 กระบวนการของการศึกษา
จะดำเนินไปภายในตัวบุคคล มีสัมมาทิฏฐิ เป็นแกนนำหรือเป็นฐานของการศึกษามี 3 ขั้นตอน เรียก ไตรสิกขา คือ 1. การฝึกอบรมทางปัญญา เรียกว่า ปัญญา 2. การฝึกอบรมทางความประพฤติ เรียกว่า ศีล 3. การฝึกอบรมทางจิตใจ เรียกว่า สมาธิ

10 หลักอริยมรรค 8 1.สัมมาทิฏฐิ ( เห็นชอบ ) 2. สัมมาสังกัปปะ ( ดำริชอบ )
1.สัมมาทิฏฐิ ( เห็นชอบ ) สัมมาสังกัปปะ ( ดำริชอบ ) 3. สัมมาวาจา ( วาจาชอบ ) 4. สัมมากัมมันตา ( กระทำชอบ ) 5. สัมมาอาชีวะ (อาชีพชอบ) 6. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ ) 7.สัมมาสติ ( ระลึกชอบ ) สัมมาสมาธิ (จิตตั้งมั่นชอบ )

11 ภาพ : กระบวนการของการศึกษา
ความสงสัย จุดเริ่มต้น ของการศึกษา แสวงหาคำตอบ ปรโตโฆสะ โยนิโสมนสิการ สัมมาทิฏฐิ ปัญญา กระบวนการของการศึกษา ศีล สมาธิ ปัญญาขั้นสูง

12 ปัญญา คือ ความรู้ ความเข้าใจ รู้ซึ้ง เป็นความเข้าใจสิ่งต่างๆตามที่เป็นจริง รู้ถึงเหตุ รู้ถึงผล รู้ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ สามารถคิดอย่างแยบคายถูกต้อง

13 แหล่งเกิดปัญญามี 3 ทางคือ
สุตมยปัญญา จินตมยปัญญา ภาวนามยปัญญา

14 ประเภทของปัญญามี 2 ประเภท
โลกียปัญญา โลกุตตรปัญญา

15 ผู้ที่จบการศึกษาแล้วจะพัฒนา 4 อย่างคือ
พัฒนากาย พัฒนาศีล พัฒนาจิต พัฒนาปัญญา

16 รูปแบบของการศึกษามี 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย

17 หน้าที่ของสถาบันทางการศึกษา
มีหน้าที่สำคัญ 2 ประการ คือ ๑. การธำรงสังคม ( Conservative Functions ) ๒. การเปลี่ยนแปลงสังคม ( Innovative Functions ) แต่ละหน้าที่ยังแยกออกเป็น หน้าที่หลัก ( Manifast Functions ) หน้าที่แฝง ( Latent Functions )

18 ๑.หน้าที่การธำรงสังคม( Conservative Functions )
1. หน้าที่หลัก ( Manifest Functions ) (1) การดำรงรักษา และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม (2) การบูรณาการทางสังคม (Social Integration ) (3) การควบคุมทางสังคมและการสร้างสมาชิกที่ดีของสังคม (4) การฝึกอบรมและพัฒนาแรงงาน

19 (5)ปลูกฝังความคิดความเชื่อ
(6) การคัดเลือกบุคคลเข้าสู่อาชีพต่างๆ (7) ธำรงวัฒนธรรมรอง (8) การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของชาติและสังคมส่วนรวม

20 2. หน้าที่แฝง ( Latent Functions )
(1) การดูแลเด็ก (2) การรับส่งทอดหน้าที่ด้านการขัดเกลาทางสังคมหรือการเรียนรู้ทางสังคม (3) ลดอัตราการว่างงาน และยืดความเป็นหนุ่มเป็นสาวให้ยาวขึ้น (4) การจัดเตรียมประสบการณ์ในด้านเพศศึกษา และด้านการเลือกคู่ครอง (5) ความสัมพันธ์ของบุคคลที่มาจากสถาบันเดียวกัน มีผลต่อการเลื่อนตำแหน่ง และหน้าที่การงาน

21 ๒.หน้าที่ การเปลี่ยนแปลงสังคม ( innovative Functions )
1. หน้าที่หลัก ( Manifest Functions ) (1) สร้างวัฒนธรรมใหม่และเผยแพร่ (2) ส่งเสริมการพัฒนาส่วนบุคคล ( 3) การเตรียมคนให้มีชีวิตที่ดี (4) การสร้างโอกาสเพื่อการเลื่อนชั้นทางสังคม (Socail Mobility) (5) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)

22 2. หน้าที่แฝง ( Latent Functions )
(1) สร้างปัญญาชนที่นำหน้าให้กับสังคม (2) เป็นการเพาะผู้นำในการปฏิรูปสังคม (3) การทำให้คนสามารถปรับตัวได้ (4) การสร้างกลุ่มพลังทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (5) การจำแนกประเภทของคน (6) สร้างความสำนึกให้ชนกลุ่มน้อย


ดาวน์โหลด ppt สถาบันการศึกษา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google